Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน (Acute Upper Respiratory Infection) -…
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบน
(Acute Upper Respiratory Infection)
สาเหตุ
การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ
rhinovirus
influenza
parainfluenza
adenovirus
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะหายได้เอง ถ้าผู้ป่วยปฏิบัติตนอย่างถูกต้องและเหมาะสม แต่ถ้าผู้ป่วยมีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจมานานเกิน 7 - 10 วัน (มักจะมีการติดเชื้อแบคทีเรียร่วมด้วย) หรือมีหลักฐานที่บ่งบอกว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินหายใจ จึงจะใช้ยาแก้อักเสบในการรักษา
อาการ
โรคหูชั้นกลางอักเสบ (acute otitis meaa)
ทำให้ผู้ป่วยมีไข้ ปวดหู หูอื้อ อาจมีหนองไหลออกมาจากหู มีเสียงดังในหู อาจมีอาการเวียนศีรษะ บ้านหมุน ได้ในผู้ป่วยบางราย
โรคหลอดลมอักเสบ (acute bronchitis)
ทำให้ไอ มีเสมหะ เจ็บหน้าอก
กล่องเสียงอักเสบ (acute laryngitis)
ทำให้ไอ ระคายคอ มีเสียงแหบแห้ง
โรดคอหรือต่อมทอนซิลอักเสบ
(acute phargngitis or tonsilitis)
ทำให้มีไข้ เจ็บคอ กลืนอาหาร
หรือกลืนน้ำลายแล้วเจ็บ หรือติดขัด
โรคไซนัสอักเสบ (acute rhinosinusitis)
ทำให้มีไข้ คัดจมูก น้ำมูก หรือเสมะมีสีเหลือง หรือเขียวขุ่นตลอด ลมหายใจมีกลิ่นเหม็น อ่อนเพลีย ไอ ปวดศีรษะ
ปวดจมูก โหนกแก้ม รอบตา หรือหน้าผาก
โรคจมูกอักเสบ (ocute rhinitis)
หรือที่มักเรียกว่า "หวัด "
ทำให้มีไข้ อ่อนเพลีย ปวดหรือมึน ศีรษะ คัดจมูก
น้ำมูกไหล (มีสีใส, ขุ่น หรือ เหลืองเขียว)
โรคปอดอักเสบหรือปอดบวม (pneumonia)
ทำให้มีไข้ ไอ หอบ
การป้องกัน
ไม่ควรอาบน้ำหรือสระผมด้วยน้ำที่เย็นเกินไป
โดยเฉพาะในเวลาที่อากาศเย็น
ไม่ควรเข้าไปที่ที่คนแออัด เช่น ตามโรงมหรสพ โดยเฉพาะในขณะที่มีการระบาดของไข้หวัด หรือไข้หวัดใหญ่
อย่าตรากตรำงานหนักเกินไป แต่ควรออกกำลังกายสม่ำเสมอให้สุขภาพแข็งแรง
ระวังรักษาร่างกายให้อบอุ่นอยู่เสมอโดยเฉพาะในเวลาที่มีอากาศเปลี่ยนแปลง
หากมีคนใกล้ตัวป่วย ควรแยกผู้ป่วยออกต่างหาก อย่านอนปะปน ไม่ควรใช้สิ่งของร่วมกันกับผู้ป่วย เวลาไอหรือจามให้ผู้ป่วยใช้ผ้าปิดปาก หรือจมูก ไม่หายใจรดผู้อื่น