Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง - Coggle Diagram
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ลำดับการสุ่มตัวอย่าง
5.จัดทำบัญชีหน่วยการสุ่มแต่ละหน่วยให้ครอบคลุมประชากร
6.กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง (sample size)
4.กำหนดหน่วยการสุ่ม(sampling unit) ว่าสุ่มจากอะไร
7.วางแผนการสุ่ม(sampling plan)ว่าจะสุ่มอย่างไรและวิธีใด
3.ให้นิยามประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
8.ดำเนินการสุ่มตัวอย่างตามวิธีการสุ่มและแผนการสุ่ม
2.ศึกษาจุดมุ่งหมายของการวิจัยให้ชัดเจน
1.ศึกษาปัญหาการวิจัยให้ละเอียดรอบคอบ
การเลือกตัวอย่าง
การเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น
การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) ผู้วิจัยกำหนดคุณสมบัติ และตรงกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย
การเลือกตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental sampling) ผู้วิจัยกำหนดคุณสมบัติ และเก็บตัวอย่างเท่าที่หาได้
การเลือกตัวอย่างแบบโควต้า (Quota sampling) ผู้วิจัยกำหนดคุณสมบัติและจำนวนของหน่วยตัวอย่างที่จะใช้ศึกษา และเก็บตัวอย่างโดยการเลือกแบบบังเอิญ
การเลือกตัวอย่างแบบสโนว์บอล (Snowball sampling) ผู้วิจัยกำหนดคุณสมบัติและจำนวนของหน่วยตัวอย่างที่จะใช้ศึกษาในหน่วยตัวอย่างแรกจากนั้นจะแนะนำหน่วยตัวอย่างต่อไป จนครบตามที่ต้องการ
การเลือกตัวอย่างแบบใช้ความน่าจะเป็น
การสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling) ใช้ในประชากรลักษณะใกล้เคียงกัน รู้ขนาดของประชากรที่แน่นอน เลือกตัวอย่างทำได้
การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ(Systematic random sampling) เลือกจากประชากรที่จัดเรียงไว้เป็นระบบแล้ว โดยการเลือกเป็นช่วงๆ
การสุ่มตัวอย่างแบบยกกลุ่ม(Cluster random sampling) เลือกจากประชากรที่อยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มๆ แต่ละกลุ่มมีลักษณะคล้ายคลึงกัน เมื่อสุ่มในกลุ่มใดจะนำสมาชิกในกลุ่มนั้นมาศึกษาทั้งหมด
การสุ่มตัวอย่างแบบแยกชั้น หรือแบบชั้นภูมิ(Stratified random sampling) สุ่มจากประชากรที่ได้แบ่งตัวอย่างประชากรเป็นชั้นๆตามลักษณะบางอย่าง โดยชั้นเดียวกัยคล้ายคลึงกันมากที่สุด
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายชั้น(Multistage random sampling) เป็นการสุ่มตัวอย่างมากกว่า 1 วิธีโดยการผสมผสานระหว่างวิธีสุ่มแบบง่าย เป็นระบบ แบบแยกชั้น แบบยกกลุ่ม
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
1.เป็นตัวอย่างที่ดี (Representative)
2.ได้ตัวอย่างที่มีการกระจายเหมือนประชากร
3.ตัวอย่างควรมีขนาดใหญ่พอ (Large sample)
ความแตกต่างของประชากรและตัวอย่าง
ประชากร (Population) คือ หน่วยที่ต้องการศึกษาทั้งหมด อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต สัญลักษณ์ = N
ตัวอย่าง (Sample) คือ หน่วยที่กำหนดขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของประชากรที่ต้องการศึกษา ตัวอย่างจึงเป็นส่วนหนึ่งของประชากรสัญลักษณ์ = n
ขนาดตัวอย่าง
สูตรของยามาเน่(Yamane, 1967)