Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปหลังเรียนครั้งที่ 2 - Coggle Diagram
สรุปหลังเรียนครั้งที่ 2
CHEST PAIN
อาการนำที่สำคัญ
1.เจ็บเค้นหน้าอก
2.เหนื่อยง่ายขณะออกแรง
3.กลุ่มอาการของภาวะหัวใจล้มเหลวทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง
4.อาการเนื่องจากความดันโลหิตต่าเฉียบพลัน
5.อาการหมดสติ หรือ หัวใจหยุดเต้น
Stable angina
ตำแหน่ง :หน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ กราม ลิ้นปี่ ไหล่ หรือ แขนซ้าย
ลักษณะ/ อาการ :แน่นหน้าอก อึดอัด หายใจไม่สะดวก คล้ายมีของหนักมาทับ
ระยะเวลา :< 2-10 นาที
สิ่งที่กระตุ้น :ออกกำลัง อากาศเย็น อารมณ์เครียด
สิ่งที่บรรเทาอาการ :การพัก อมยา nitroglycerin
Unstable angina
ตำแหน่ง :อาการเหมือน stable angina
ลักษณะ/ อาการ :ลักษณะเหมือน stable angina แต่รุนแรงกว่า
ระยะเวลา :< 20 นาที
สิ่งที่กระตุ้น :เหมือน stable angina แต่มีอาการเมื่อออกแรงเล็กน้อย หรือ ขณะพัก
Myocadial infarction
ตำแหน่ง :อาการเหมือน Stable angina
ลักษณะ/ อาการ :ลักษณะเหมือน stable angina แต่รุนแรงกว่า
ระยะเวลา :เป็นทันที นาน > 30 นาที
สิ่งที่กระตุ้น :อาการไม่บรรเทาหลังการพัก หรือ หลังอมยา nitroglycerin ไม่ดีขึ้น
Pericaditis
ตำแหน่ง :บริเวณหน้าอกด้านซ้าย อาจร้าวไปที่คอ หัวไหล่ซ้าย
ลักษณะ/ อาการ :เจ็บแปล๊บ หรือ เสียดแทง
ระยะเวลา :นานหลายชั่วโมง หรือ เป็นวัน
สิ่งที่กระตุ้น :เวลานอนราบ หายใจเข้าลึกๆ เอี้ยวตัว
สิ่งที่บรรเทาอาการ :ลุกนั่ง / โน้มตัวมาข้างหน้า
Aortic dissection
ตำแหน่ง :บริเวณหน้าอกด้านหน้า อาจร้าวทะลุไปกลางหลัง
ลักษณะ/ อาการ :เจ็บรุนแรงมาก ลักษณะคล้ายมีของแหลมคมมาแทงหรือเจ็บแบบฉีกขาด
ระยะเวลา :ทันทีทันใด มักรุนแรงมาก
สิ่งที่กระตุ้น :พบในผู้ป่วย HT หรือ เป็นโรค Marfan syndrome
Pulmonary embolism
ตำแหน่ง :บริเวณหน้าอกด้านซ้ายหรือขวาที่เกิดมี pulmonary infarction
ลักษณะ/ อาการ :เจ็บสัมพันธ์กับการหายใจ
ระยะเวลา :เกิดทันที
สิ่งที่กระตุ้น :เวลาหายใจแรงๆ
ACUTE DIARRHEA
- กลุ่มที่ถ่ายอุจจาระเหลว หรือ เป็นน้้ำ
-
-
- กลุ่มที่ถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือด
-มักมีไข้สูง ส่วนใหญ่ T > 39 แต่มักไม่เกิน 2-3 วัน
-อาจมีอาการปวดเบ่งที่ทวารหนัก
-อาการปวดท้องและอาเจียนอาจเป็นรุนแรงได้
-ส่วนใหญ่มักไม่มี dehydration
การรักษา
-การให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทน
-ให้ยา ATB
-ในรายที่สงสัยว่าอาจมี sepsis ให้Ciprofloxacin(500 ) 1 เม็ด bid 5-7 days
DYSPEPSIA
Acute gastritis
เป็นการอักเสบเยื่อบุกระเพาะอาหารแบบเฉียบพลัน
ลักษณะที่พบ: Mucosa บวมแดง อาจจะมีจุดเลือดออก และอาจจะมีการหลุดลอกของ mucosa เป็นแผลตี้นๆ
Chronic gastritis
การอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุ mucosa ร่วมกับมี mucosal atrophyและ epithelial metaplasia ทำให้มีอาการปวดท้องแน่นท้องเรื้อรัง (Dyspepsia)มีโอกาสเกิด dysplasia และ เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง
Peptic ulcer disease
Peptic ulcer เป็นแผลที่ mucosa อาจจะลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อ หรือลึกกว่านั้น
อาจเกิดได้ทั้งในกระเพาะอาหาร duodenum หรือ lower esophagus
-การเกิดแผลในกระเพาะอาหารเป็นผลจากความไม่สมดุลระหว่างกลไกการป้องกันเยื่อบุ และ การทำลายเนื่องจากกรดและเอนไซม์ pepsin รวมทั้งปัจจัยอื่นๆทั้งสิ่งแวดล้อม และ ภาวะภูมิคุ้มกัน
GERD
การมีอาการแสบร้อนบริเวณลิ้นปี ขึ้นมาที่บริเวณกระดูกกลางหน้าอกหรือถึงต้นคอ
หรือ อาการเรอเปรี้ยว มักจะเกิดในท่านอน หรือก้มตัว
-
-
JAUNDICE
สาเหตุ
- การผลิตของ Bilirubin เพิ่มขึ้น
- ความผิดปกติของการส่ง Unconjugated bilirubin เข้าสู่เซลล์ตับ
- ความผิดปกติในการ conjugation conjugation ของ bilirubin
- ความผิดปกติของการขับถ่าย Bilirubin
4.1 ความผิดปกติที่เซลล์ตับในการขับ bilirubin ได้แก่
-โรคทางพันธุกรรม
-ยาและสารเคมี
-ภาวะติดเชื้อ รวมทั้ง viral hepatitis
-ตับแข็งชนิด decompensated cirrhosis
4.2ภาวะอุดกั้นทางเดินน้ำดี
VIRAL HEPATITIS
อาการของตับอักเสบ
1.ตับอักเสบเฉียบพลัน
ตับอักเสบเฉียบพลันจากไวรัสทุกชนิดเหมือนกัน โดยผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร จุกแน่นบริเวณชายโครงขวาจากการที่ตับโตปัสสาวะมีสีเข้ม ตาเหลือง เมื่ออาการของโรคเต็มที่จะค่อยๆดีขึ้นเข้าสู่ระยะฟื้นตัวและหายพร้อมกับมีภูมิต้านทานเกิดขึ้น
-
ไวรัสตับอักเสบเอ
การติดต่อของโรคเกิดจากการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบเข้าไปนอกจากนั้นอาจจะเกิดจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเกิดไม่บ่อย
การรักษา
- ผู้ป่วยตับอักเสบ เอ หายเองได้ พักผ่อนให้เพียงพอ ต้องระวังยาที่มีผลต่อตับ
เช่น พาราเซตามอล
การป้องกันไวรัสตับอักเสบเอ
- ฉีดวัคซีน
- ล้างมือทุกครั้งหลงเข้าห้องน้ำหรือก่อนปรุงอาหาร
- เมื่อต้องไปต่างประเทศให้ดื่มน้ำต้มสุก
ไวรัสตับอักเสบบี
การติดต่อ
-แม่สู่ลูก
-เพศสัมพันธ์
-การสัมผัสกับ เลือด น้ำเลือด น้ำคัดหลั่ง โดยผ่านเข้าทางบาดแผล
-ทางเลือด เช่น การรับเลือดและผลิตภณฑ์ ของเลือด จากการใช้เข็มฉีดยาหรือของมีคมร่วมกัน การฝังเข็ม
การรักษา
วิธีรักษาขึ้นกับระยะของโรค
-งดแอลกอฮอล์
-ยาที่ใช้รักษา ได้แก่ Peg-Interferon, Tenofovir, Lamivudine, Entecavir
ไวรัสตับอักเสบซี
การติดต่อ
-ผู้ที่มีการฉีดสารเสพติดเข้าเส้นเลือดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี
-ผู้ที่มีประวัติมีเพศสัมพันธ์กับผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง
-
CIRRHOSIS
สาเหตุ
-
-
โรคทางพันธุกรรม เช่น
- Wilson disease
- Hemochromatosis
- Cystic fibrosis
อาการ
-
-
-
ขาบวมหรือท้องโตขึ้น ฟกช้าหรือเลือดออกได้ง่าย มีอาการดีซ่าน หรืออาการตัวเหลืองตาเหลือง มีอาการคันที่ผิวหนังอย่างรุนแรง
การรักษา
- การให้ยาต้านไวรัสตับอักเสบบี หรือ ซี
- การให้ยากดภูมิคุ้มกัน
- การให้ยาขับธาตุเหล็กหรือทองแดง เป็นต้น
- ประเมินระยะของโรคตับแข็ง
- การดูแลภาวะโภชนาการให้เหมาะสม
- การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับระยะของโรคตับแข็ง
-