Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:male-scientist::skin-tone-4: วิทยาศาสตร์ กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย,…
:male-scientist::skin-tone-4:
วิทยาศาสตร์
กับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทย
สภาพเศรษฐกิจและสังคมไทยในปัจจุบัน
1.มิติด้านความมั่นคง
เสถียรภาพทางการเมืองและประสิทธิผลของรัฐลดลง :warning:
ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง :moneybag:
ความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ยังคงมีความเสี่ยง
2. มิติด้านเศษฐกิจ
เศรษฐกิจขยายตัวต่ำสุดในรอบ 22 ปี
เศรษฐกิจไทยมีเสถียรภาพที่ดี เมื่อเทียบกับประเทศพัฒนาใกล้เคียง
ภาคการเงินของไทยมีประสิทธิภาพดีขึ้น
โครงสร้างการผลิต เป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญของเศรษฐกิจไทบในปัจจุบัน
เศรษฐกิจไทยต้องพึ่งพาอุปสงค์ต่างประเทศในสัดส่วนที่สูง
ประเทศไทยมีอัตราการขยายตัวของปัจจัยทุนอยู่ระดับต่ำ
ผลิตภาพการผลิตรวม TEPเติบโตช้า
ความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนในอาเซียนเพิ่มขึ้น
ข้อจำกัดการกระจายผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและการแข่งขัน ของผู้ประกอบการไม่เท่าเทียมกัน
3. มิติด้านความสามารถในการแข่งขัน
โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์พัฒนาก้าวหน้า
การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาของประเทศบรรลุเป้าหมายแต่ยังต่ากว่าประเทศ ท่ีมีระดับการพัฒนาใกล้เคียงกัน
ความสามารถในการแข่งขันของสาขาการผลิตและบริการเป้าหมาย
การเกษตร :deciduous_tree:
การท่องเที่ยว :airplane:
อุตสาหกรรมชีวภาพ
บริการทางการแพทย์ :male-doctor::skin-tone-2:
บริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์ :male-technologist::skin-tone-2:
บริการขนส่งและโลจิสติกส์
อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
4. มิติด้านทรัพยากรมนุษย์
คนไทยทุกวัยมีทักษะความรู้และความสามารถโดยรวมเพิ่มขึ้น
ทักษะทางด้านการอ่าน/การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมของคนไทยมีแนวโน้มลดลง
ผลสัมฤทธิ์การศึกษาของคนไทยอยู่ในระดับต่ำ
ผลิตภาพของแรงงานเพิ่มขึ้นช้าและมีข้อจำกัดในการผลิตแรงงานให้มีสมรรถนะตรงกับความต้องการของตลาด
ประเทศไทยยังคงต้องพึ่งพาแรงงานต่างด้าว
5. มิติด้านสังคม
ความเหลื่อมล้ำยังคงเป็นปัญหาเรื้อรังที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไข
การเข้าถึงบริการพื้นฐานของภาครัฐดีขึ้น แต่คุณภาพการศึกษายังคงเป็นปัญหาสำคัญ
ความยากจนและการกระจายรายได้มีแนวโน้มดีขึ้น
สังคมไทยมีความเปราะบาง
สุขภาวะของคนไทยดีขึ้น แต่ยังคงมีการจัดสรรบริการทางการแพทย์ที่ไม่เท่าเทียม
6.มิติด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปริมาณการปล่อยแก๊สเรือนกระจกลดลง
การฟื้นฟูรักษาฐานทรัพยากรธรรมชาติและป่าไม้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมยังมีปัญหา
ปัญหาขยะ
ปัญหาน้ำเสีย
ปัญหามลพิษทางอาหาศ
ปัญหาแก๊สเรือนกระจก
การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำยังคงมีความเสี่ยง
7.มิติด้านการบริหารจัดการภาครัฐ
ภาครัฐตอบสนองความต้องการของภาคส่วนได้ดีขึ้น แม้ต้องเร่งพัฒนาประสิทธิภาพแม้ต้องเร่งการดำเนินงาน
การบริหารจัดการภาครัฐในภาพรวมมีความก้าวหน้าอย่างมีนัยสำคัญ
ความยั่งยืนทางการคลังยังคงน่าเป็นห่วง
โครงสร้างการบริหารงานภาครัฐขาดความยืดหยุ่นไม่คล่องตัว/ล้าสมัย
https://www.bangkokbiznews.com/social/1006421
บทบาทของวิทยาศาสตร์กับการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมไทย
หมุดหมายที่ 1 ไทยเป็นประเทศชั้นนำด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูป
ส่งเสริมการผลิตและการขยายตัวของสินค้าเกษตร
และผลิตภัณฑ์แปรรูป
พลังงาน
วัสดุและเคมีชีวภาพ
โปรตีนจากพืชและแมลง
ใช้ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ ของเหลือทิ้ง และผลพลอยได้อื่น
ปุ๋ยชีวภาพ
วัคซีน
สารชีวภัณฑ์
คาร์บอนเครดิต
คาร์บอนซิงก์
อนุรักษ์ เพาะพันธ์ุ เพื่อเพิ่มปริมาณสัตว์น้ำ
การจัดการตะกอนอย่างเหมาะสม
หมุดหมายที่ 2 ไทยเป็นจุดหมายการท่องเที่ยวที่เน้นคุณภาพและความยั่งยืน
สนับสนุนการจัดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนตามแนวคิด BCG
สนันสนุนการใช้ยานยนต์ไฟฟ้า
จัดการพื้นที่และแหล่งท่องเที่ยวกับระบบนิเวศ
มาตรการลดก๊าซเรือนกระจก
หมุดหมายที่ 3 ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าที่สาคัญของโลก :blue_car:
อุตสาหกรรมยานยนต์มีส่วนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีแบตเตอรี่
ยานยนต์ไฟฟ้า
สังคมคาร์บอนต่ำ
ลดปัญหามลพิษทางอากาศ
หมุดหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง
บริการทางการแพทย์
ไทยเป็นศูนย์กลางบริการเพื่อส่งเสริมสุขภาพระดับโลก
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้อุตสาหกรรมทางการแพทย์และสุขภาพ
การสร้างเสริมขีดความสามารถทางวิชาการ
ด้านการศึกษา วิจัย
ด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์
การบริหารจัดการระบบบริการสุขภาพ
การยกระดับศักยภาพระบบบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
หมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และเมืองอัจฉริยะที่น่าอยู่ ปลอดภัย เติบโตได้อย่างยั่งยืน
(1)สร้างความเข้มแข็งให้เศรษฐกิจชุมชน
ส่งเสริมโดยใช้งานวิจัย เทคโนโลยี นวัตกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
(3)สร้างความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐาน โลจิสติกส์ และดิจิทัล รองรับพื้นที่เศรษฐกิจหลักและเมือง
พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาต่อยอดขยายผลในเชิงพาณิช
พัฒนาบุคลากร การศึกษา การวิจัย
(4)ส่งเสริมความเข้มแข็งในการบริหารจัดการพื้นที่และเมือง
เสริมสร้างสมรรถนะของท้องถิ่น ทุกระดับ
การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
ลดการสร้างของเสียและมลพิษทุกรูปแบบ
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
การกำจัดขยะมูลฝอยและน้ำเน่าเสีย
การเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติทุกรูปแบบ
สร้างความรู้ ความเข้าใจ
ด้านสุขอนามัย
ระบบผลิตอาหาร
พฤติกรรมการบริโภค
หมุดหมายที่ 11 ไทยสามารถลดความเสี่ยงและผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่
การป้องกันและลดผลกระทบจากภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นำแบบจำลองระดับชาติมาประเมินความเสี่ยงและจัดทำแผนในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
การพัฒนาและเพิ่มศักยภาพประชาชนและชุมชน
มีการบรูณาการความรู้เรื่องภัยธรรมชาติในหลักสูตรการศึกษาทุกระดบ
การใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการบริหารจัดการความเสี่ยง
สนับสนุนการสร้างบุคลาการ นักวิจัยและสนับสนุนให้มัการวิจัยทางด้านภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
พัฒนาประสิทธิภาพระบบเตือนภัย
พัฒนาข้อมูลสำหรับจัดทำแบบจำลองเพื่อประเมินความเสี่ยง
อนุรักษ์ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ
สนับสนุนการใช้แนวทางธรรมชาติในการจัดการปัญหา
หมุดหมายที่ 10 ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
:check: การพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
พัฒนาเครื่องมือและกลไกสนับสนุนการวิจัย การใช้องค์ความรู้เพื่อต่อยอดการใช้วัสดุหมุนเวียนให้มีประสิทธิภาพ
ส่งเสริมให้เกิดการใช้น้อย ใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้ใหม่ และส่งเสริมให้นำหลักการลดของเสียให้เหลือน้อยที่สุดในขั้นตอนการผลิตและบริการ :recycle:
ส่งเสริมการลงทุนในกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม :deciduous_tree:
:check:การสร้างรายได้สุทธิให้ชุมชน ท้องถิ่นและเกษตรกรจากเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
ส่งเสริมให้ชุมชนนำขยะและวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรในชุมชนมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ ๆ :recycle:
เพิ่มรายได้และลดรายจ่ายให้กับชุมชน :money_with_wings:
ส่งเสริมแนวคิดการสร้างรายได้จากการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม
พัฒนาระบบ การจัดการสิ่งแวดล้อมในแหล่งท่องเที่ยว
Link Title
วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ จัดทำฐานข้อมูลสาหรับการซื้อขายคาร์บอน
ได้แก่ ข้อมูล การตรวจวัดปริมาณคาร์บอนในการผลิตสินค้าและปริการ
การประเมินขีดความสามารถในการกักเก็บคาร์บอน ของภาคป่าไม้
พัฒนาระบบการรับรองปริมาณการปล่อยและกักเก็บ คาร์บอนให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล
ส่งเสริม การแปรรูปขยะมูลฝอยและวัตถุดิบท่ีเหลือจากกระบวนการผลิตเป็นพลังงาน
ส่งเสริมให้เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ตามหลักเศรษฐกิจหมุนเวียน
สร้างชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจหมุนเวียนท่ีตอบรับกับวิถีชีวิตและภูมิปัญญาท้องถิ่น
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการ ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปสู่ชุมชนต่าง ๆ ให้ถอดบทเรียนจากชุมชนต้นแบบ
Link Title
สร้างกลไกจูงใจให้มีการปลูกป่าในพื้นท่ีท่ีถูกทำลายหรือพื้นที่ว่าง
พัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากไม้
:check:การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรอย่างชาญฉลาดบนหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ใช้ทรัพยากรธรรมชาติจากส่วนเหลือให้เกิดประโยชน์ท่ีหลากหลายปราศจากเศษ เหลือและของเสียจากอุตสาหกรรม เกษตรกรรม และขยะอาหาร
:check:ปรับพฤติกรรมทางเศรษฐกิจและการดำรงชีพเข้าสู่วิถีชีวิตใหม่อย่างยั่งยืน
ส่งเสริมการติดฉลากผลิตภัณฑ์
ฉลากสีเขียว
:
ฉลากคาร์บอนฟุตปริ้นท์
ฉลากพลังงาน
ส่งเสริมการเดินทางท่ีเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม :blue_car:
พัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งสาธารณะที่ปล่อยคาร์บอนต่ำและเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อมให้ครอบคลุม
ส่งเสริมการผลิตและการใช้ยานพาหนะที่ใช้พลังงานสะอาดและประหยัดพลังงาน
สรุป :red_flag:
วิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือสำคัญอันดับต้น ๆ ที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับระบบเศรษฐกิจ เป็นตัวบ่งบอกฐานะและความเป็นอยู่ของคนในสังคมได้
ถ้าเกิดสังคมที่ประกอบด้วยผู้คนที่มีพื้นฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพียงพอ (Science Literacy) ก็จะนำพาให้ประเทศไปสู่ความเจริญ :star:
ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยในปัจจุบัน
1.การปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการสู่เศรษฐกิจฐานนวัตกรรม
การท่องเที่ยวเน้นคุณภาพและความยั่งยืน
การผลิตยานยนต์ไฟฟ้า
การแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง
ประตูการค้าการลงทุนและโลจิสติกส์
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
SMEs ที่เข้มแข็งแข่งขันได้
พื้นที่และเมืองอัจฉริยะ
เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
เกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
5.การเสริมสร้างความสามารถของประเทศไทยในการรับมือการเปลี่ยนแปลงและความเสียงภายใต้บริบทโลกใหม่
ภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
นำแบบจำลองมาประเมินความเสี่ยง
พัฒนาระบบเตือนภัย
พัฒนานักวิจัยให้วิจัยทางด้านภัยธรรมชาติและปริเมินความเสี่ยง
จัดฝึกอบรมการป้องกันและบรรเทาผลกระทบ
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
ส่งออกอุสาหกรรมอิเล็ทรอนิกส์
พัฒนาใช้ภายในประเทศ
พื้นที่เมืองอัจฉริยะ
พัฒนาเมืองให้น่าอยู่ ปลอดภัย
พัฒนาเมืองให้มีความยังยืน
ภาครัฐที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ
ดิจิทัล
การทำงานไม่ซ้ำซ้อน
การแพทย์และสุขภาพ
ยกระดับบริการทางการแพทย์
ส่งเสริมสุขภาพ
สร้างมูลค่าเพิ่มแก่อุตสาหกรรมการแพทย์และสุขภาพ
เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
การพัฒนาอุตสาหกรรม
การสร้างรายได้ให้ชุมชนและท้องถิ่น
การใช้ธรรมชาติที่เหลือให้เกิดประโยชน์สูงสุด
จัดกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้มีความเหมาะสม
เกษตรและเกษตรแปรรูป
ใช้เทคโนโลยีเพื่อยกระดับการผลิตและการแปรรูป
มีมาตรฐานการรับรองสินค้าทางการเกษตร
ขยายโอกาศให้เกษตรกรเข้าถึงพื้นที่
2. การพัฒนาคนสำหรับโลกยุคใหม่
เกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
การท่องเที่ยวเน้นคุณภาพและความยั่งยืน
การผลิตยานยนต์ไฟฟ้า
การแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง
ประตูการค้าการลงทุนและโลจิสติกส์
อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
SMEs ที่เข้มแข็งแข่งขันได้
พื้นที่และเมืองอิจฉริยะ
ความยากจนข้ามรุ่นและความคุ้มครองทางสังคม
กำลังคนสมรรถนะสูง
3. การมุ่งสู่ สู่สังคมแห่งโอกาสและความเป็นธรรม
การแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง
ประตูการค้าการลงทุนและโลจิสติกส์
SMEs ที่เข้มแข็ง แข่งขันได้
พื้นที่และเมืองอัจฉริยะ
ความยากจนข้ามรุ่นและความคุ้มครองทางสังคม
เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
กำลังคนสมรรถนะสูง
ภาครัฐที่ทันสมัยมีประสิทธิภาพ
4. การเปลี่ยนผ่านไปสู่ความยั่งยืน
เกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
การผลิตยานยนต์ไฟฟ้า
ภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประตูการค้าการลงทุนและโลจิสติกส์
การท่องเที่ยวเน้นคุณภาพและความยั่งยืน
พื้นที่และเมืองอัจฉริยะ
เศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่ำ
:red_flag:บริบทและสถานการณ์ในปัจจุบันของไทย
ความก้าวหน้าอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาท สำคัญทั้งในวิถีการดำเนินธุรกิจและการใช้ชีวิตของผู้คน :female-technologist::skin-tone-2:
การเข้าสู่สังคมสูงวัย ที่ส่งผลต่อกำลังแรงงานในอนาคต :silhouette:
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติที่มีความผันผวนรุนแรง :warning:
สถานการณ์ความขัดแย้งทางเศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศมหาอำนาจ :explode:
เหตุการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่แพร่ระบาดอย่างรวดเร็วและส่งผลกระทบอย่างรุนแรงทั่วโลก :cry: