Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง - Coggle Diagram
การเลือกกลุ่มตัวอย่าง
ลำดับขั้นการสุ่มตัวอย่าง
วางแผนการสุ่มว่าจะสุ่มอย่างไร
กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง
จัดทำบัญชีหน่วยการสุ่มแต่ละหน่วย
กำหนดหน่วยการสุ่ม ว่าสุ่มจากอะไร
ให้นิยามประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ
ศึกษาจุดมุ่งหมายของการวิจัยให้ชัดเจน
ศึกษาปัญหาการวิจัยให้ละเอียดรอบคอบ
ดำเนินการสุ่มตัวอย่างตามวิธีการสุ่มและแผนการสุ่ม
การเลือกตัวอย่าง
การเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น
ง่าย สะดวกประหยัด ไม่ต้องรู้กรอบจำนวนประชากร อาจเรียกว่า สุ่มสะดวก
แบบบังเอิญ (Accidental sampling)
กำหนดคุณสมบัติเก้บตวอย่างเท่าที่หาได้
แบบโควต้า(Quota sampling)
ผู้วิจัยกำหนดคุณสมบัติและจำนวนของหน่วยตัวอย่าง
เก็บตัวอย่างโดยการเลือกแบบบังเอิญ
แบบสโนว์บอล(Snowball sampling)
กำหนดคุณสมบัติและจำนวนของหน่วยตัวอย่างที่จะใช้ศึกษาตัวอย่างแรก จากนั้นจะแนะนำตัวอย่างต่อไปจนครบตามที่ต้องการ
แบบเจาะจง (Purposive sampling)
ผู้วิจัยกำหนดคุณสมบัติของหน่วยตัวอย่างที่จะใช้ศึกษา
ตรงกับวัตถุประสงค์
การเลือกตัวอย่างแบบใช้ความน่าจะเป็น
หน่วยตัวอย่างที่ถูกเลือกมานี้ มีโอกาสที่จะถูกสุ่มข้อมูลที่ได้
จึงเป็นตัวแทนของประชากรที่ศึกษา
การสุ่มตัวอย่างแบบยกกลุ่ม(Cluster random sampling)
การสุ่มตัวอย่างแบบแยกชั้น(Stratifed random sampling)
การสุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ (Systematic random sampling)
การสุ่มตัวอย่างแบบหลายชั้น(Multistage random sampling)
การสุ่มแบบง่าย(Simple random sampling)
ลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ดี
ได้ตัวอย่างทีIมีการกระจายเหมือนประชากร
ตัวอย่างควรมีขนาดใหญ่พอ (Large sample)
เป็นตัวแทนทีIดี (Representative)
ความแตกต่างของประชากรและตัวอย่าง
ประชากร (Population) คือ หน่วยที่ต้องการศึกษาทั้งหมด อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต สัญลักษณ์ = N
ตัวอย่าง (Simple)คือ หน่วยที่กำหนดขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนของประชากรที่ต้องการศึกษา ตัวอย่างจึงเป็นส่วนหนึ่งของประชากรสัยลักษณ์ =N
ขนาดของตัวอย่าง