Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่ 2, ดาวน์โหลด, images, xanthelasma-678x446,…
สรุปการเรียนรู้ครั้งที่ 2
chest pain
Cardiac
Coronary artery disease
Myocardial infarction
ตำแหน่ง
: หน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ กราม ลิ้นปี่ ไหล่หรือแขนซ้าย
สิ่งที่กระตุ้น
: อาการไม่บรรเทาหลังการพัก หรือหลังอมยา Nitroglycerin
อาการ
: หายใจเหนื่อย เหงื่อvอก N/V ใจสั่น หน้ามืดเป็นลม หมดสติ
ระยะเวลา
: เป็นทันที นาน > 30 นาที
ลักษณะ/อาการ
: แน่นหน้าอก อึดอัด หายใจไม่สะดวก คล้ายมีของหนักทับและรุนเเรง
Unstable angina
ตำแหน่ง
: หน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ กราม ลิ้นปี่ ไหล่หรือแขนซ้าย
ลักษณะ/อาการ
: แน่นหน้าอก อึดอัด หายใจไม่สะดวก คล้ายมีของหนักทับและรุนเเรง
นั่งเฉยๆ มีอาการเจ็บหน้าอก ลิ่มเลือดอุดตันกระทันหัน
สิ่งที่กระตุ้น
: exercise, อากาศเย็น, อารมณ์เครียด เเต่มีอาการเมื่อออกแรงเล็กน้อยหรือขณะพัก
อาการ
: อาจได้ยินเสียง S3 or heart murmur จากการที่มี papillary muscle dysfinction เเต่อาจมีหัวใจล้มเหลวได้
ระยะเวลา
: < 20 นาที
การรักษา
ASA (325) 1 tab เคี้ยวเเละรับประทานทันที ตามด้วย 1 tab OD
Clopidogrel (75) 4-8 tabs PO stat ตามด้วย 1 tab OD
admit และพิจารณาทำการสวนหลอดเลือดหัวใจ กรณีที่เป็น High risk group เช่นมี ST-T wave change or elevated of cardiac enzymes
เป้าหมายสำคัญ
ควรเปิดหลอดเลือดที่ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจตาย ภายใน 6 ชั่วโมงหรือ ช้าไม่เกิน 12 ชั่วโมง
ควรได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน 30 นาทีหรือยาขยายหลอดเลือดหัวใจแบบปฐมภูมิ ภายในเวลา90 นาทีเมื่อผู้ป่วยมาติดต่อครั้งแรก ณ รพ. ที่มีความพร้อม
Isosorbide Dinitrate 10 mg tid ac or Isosorbide Mononitrate 20 mg bid ac
B-blocker : Atenolol 25-100 mg OD or cavedilol 6.25-25 mg bid
ยาลดไขมัน กลุ่ม Statins เช่น simvastatin 10-40 mg OD hs. ถ้ามีระดับน้ำตาลในเลือดสุง
Unfractionated heparin or LMWH
ACEL เช่น Enalapril 5-20 mg OD ถ้ามี LVEF < 40%
Chronic stable angina
ตำแหน่ง
: หน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ กราม ลิ้นปี่ ไหล่หรือแขนซ้าย
ลักษณะ/อาการ
: แน่นหน้าอก อึดอัด หายใจไม่สะดวก คล้ายมีของหนักทับ
ระยะเวลา
: <2-10 นาที
สิ่งที่กระตุ้น
: exercise, อากาศเย็น, อารมณ์เครียด
สิ่งที่บรรเทาอาการ
: การพัก, อมยา, Nitroglycerin
อาการ
: อาจได้ยินเสียง S3 or heart murmur จากการที่มี papillary muscle dysfinction
การรักษา
ASA (81) 1 tab OD
Isosorbide Dinitrate 10 mg tid ac or Isosorbide Mononitrate 20 mg bid ac
รักษาที่ ER และให้กลับบ้านได้ นัดมาทำ EST ภายหลัง
B-blocker : Atenolol 25-100 mg OD or cavedilol 6.25-25 mg bid
ยาลดไขมัน เช่น กลุ่ม Statins เช่น simvastatin 10-40 mg OD hs. ถ้ามีระดับน้ำตาลในเลือดสูง
Non - coronary artery disease
Aortic dissection
ลักษณะ/อาการ
: เจ็บรุนเเรงมาก ลักษณะคล้ายมีของแหลมคมมาแทงหรือเจ็บแบบฉีกขาด
ผนังหลอดเลือด Aorta มีการปริเเตก
ระยะเวลา
: ทันทีทันใด มักรุนแรงมาก
ตำแหน่ง
: บริเวณหน้าอกด้านหน้า อาจร้าวทะลุไปกลางหลัง
สิ่งที่กระตุ้น
: พบในผู้ป่วย HT or Marfan syndrome
อาการ
: อาจพบ Aortic insufficency คลำ PR or วัด BP ที่เเขนขาได้ไม่เท่ากัน เเละมีอาการทางสมองผิดปกติได้
Pulmonary embolism
ตำแหน่ง
: บริเวณหน้าอกด้านซ้ายหรือขวาที่เกิดมี pulmonary infarction
ลักษณะ/อาการ
: Pleuritic pain
ระยะเวลา
: เกิดทันที
สิ่งที่กระตุ้น
: เวลาหายใจแรงๆ
อาการ
: หอบเหนื่อย หายใจเร็ว BP drop,หัวใจห้องขวาล้มเหลว
Pericarditis
ลักษณะ/อาการ
: เจ็บแปล๊บหรือเสียดแทง
ระยะเวลา
: นานหลายชั่วโมงหรือเป็นวัน
ตำแหน่ง
: บริเวณหน้าอกด้านซ้าย ร้าวไปที่คอ ไหล่ซ้าย
สิ่งที่กระตุ้น
: เวลานอนราบ หายใจเข้าลึกๆ เอี๊ยวตัว
สิ่งที่บรรเทาอาการ
: ลุกนั่ง/ โน้มตัวมาข้างหน้า
อาการ
: Pericardial friction rub
Non-cardiac
Lung disease
Pleural disease
Musculoskeletal (including costochondritis)
Esophageal disease(GERD, motility disorder etc.)
Anxiety
Acute diarrhea
Acute Diarrhea in Adults
อาการอุจจาระร่วงอย่างเฉียบพลัน ในผู้ป่วยอายุ 15 ปี หรือมากกว่า
มีการถ่ายอุจจาระเหลว หรือ ถ่ายเป็นน้ำ ตั้งเเต่ 3 ครั้งขึ้นไป ภายใน 24 ชม. หรือถ่ายเป็นมูกเลือด 1 ครั้ง หรือมากกว่า
โดยอาการเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน และเป็นนานไม่เกิน 2 สัปดาห์
กลุ่มอาการ
ถ่ายอุจจาะเหลวหรือเป็นน้ำ
ถ่ายเป็นน้ำสีเหลือง หรือเขียวอ่อนบางรายมีอาการรุนแรงอาจเป็นสีขุ่น เหมือนน้ำซาวข้าว
มักเกิดจาก Bacteria ที่สร้างสารพิษในลำไส้ เช่น Vibrio cholera, E.coli
แสดงอาการขาดน้ำและเกลือแร่
ถ่ายอุจจาระเป็นมูกเลือด
มักมีไข้ ปวดศีรษะหรือปวดเบ่งที่ทวารหนัก ถ่ายบ่อยอุจจาระออกเเต่ละครั้งไม่มาก
ส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการขาดน้ำเเละเกลือแร่หรือก้ไม่ชัดเจน
เกิดจากเชื้อ Shigella spp., Campyrobacter jejuni, E.Histolytica
การประเมินความรุนแรงของภาวะขาดน้ำและเกลือเเร่
ชีพจรเร็ว, SBP ปกติหรือต่ำลง 10-20 mm.gh., ปากคอแห้ง, Skin turgor (severe ผิวหนังตั้งเกิน 2 วินาที), capillary ภายใน 3 วินาที
กลุ่มผู้ป่วยอุจจาระร่วงเป็นน้ำ ที่มีอาการแสดงของการขาดน้ำและเกลือแร่
มักเป็นผู้ป่วยกลุ่ม Cholera เกิดจากเชื้อ Vibrio Cholerae มีอาการถ่ายน้ำอย่างรุนแรง มีลักษณะ dehydration.
stool exam ไม่ค่อยพบ WBC,RBC แต่พบ Bateria เคลื่อนไหวเร็วแบบ Shooting star(dark field microscope) และ Stool culture
อาการมักเกิดขึ้นทันทีในเวลาอันรวดเร็วหรือภายในไม่กี่ชั่วโมง
ไม่ค่อยมีไข้หรือมีไข้ก็ไม่ค่อยสูงมาก ไม่มีอาการปวดท้อง หรือปวดไม่รุนเเรง
การรักษา
Rehydation ให้ทัน Preteatment deficit+concurrent loss + ongoing loss
ถ้าเป็น Mild dehydration - ORS กิน 1-1.5 เท่าของปริมาณอุจจาระที่ถ่าย
ถ้า Moderate dehydration ขึ้นไป หรือกินไม่ได้ - Ringer lactate or Acetar โดยเร่งให้ปริมาณ IVF ให้ครึ่งหนุ่งปริมาณที่ต้องการจะให้ใน 4 ชั่วโมงแรก
Tetracyclin (250) 2 tab qid..3 days or Doxycyclin (100) 1 tab bid...3 days
ถ้าแพ้ยาข้างต้น Cotrimoxazole(40/800) 2 tab bid...3 days or Norfloxacin (400) 1 tab bid...3 days
กลุ่มผู้ป่วยอุจจาระร่วงเป็นน้ำที่ไม่มีอาการแสดงขอองการขาดน้ำและเกลือแร่ที่รุนแรง
พบได้มากที่สุด อาการเเต่ละอย่าง มีไม่มากไม่จำเป็นต้อง Stool exam
การรักษา ORS *ไม่จำเป็นต้องใช้ ATB
กลุ่มผู้ป่วยที่มีอาการถ่ายเป็นมูกเลือด
มักมีไข้สูง ส่วนใหญ่ T> 39 ํC แต่มักไม่เกิน 2-3 วัน
อุจจาระในวันแรกๆ อาจมีลักษณะเหลว หรือเป็นน้ำต่อมาจึงมีลักษณะเป็นมุกเลือด ถ่ายบ่อย หลายครั้งมาก อาจมีอาการปวดเบ่งที่ทวารหนัก
มีอาการปวดท้องเเละอาเจียน อาจเป็นรุนแรงได้ ส่วนใหญ่มักไม่มี dehydration
Stool exam พบ WBC, RBC จำนวนมาก
พบเชื้อ shigella spp., Salmonella spp., campylobacter jejuni, E. histolytica.
การรักษา
การให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทน อาจไม่ต้องมากหรือรีบด่วน
ให้ยา ATB เพื่อไปทำลายเชื้อในลำไส้ เช่น norfloxacin (400) 1 tab bid..3 days
ในรายที่สงสัยอาจมี sepsis โดยเฉพาะผู้สูงอายุหรือภูมิคุ้มกันต่ำ มีเเนวโน้มจะมีภาวะ sepsis ได้ง่าย เช่น ผู้ป่วย DM, cirrhosis ให้ Ciprofloxacin(500) 1 tab bid ... 5-7 days
ORS and Rational Drug Use
Glucose ไม่เกิน 2% (ไม่เกิน 20 g/L)
ผงเกลือแร่ที่มีส่วนผสมเหมาะสมตามหลักวิชาที่ช่วยลดการสูญเสียน้ำเเละโซเดียมขณะมีอาการท้องร่วงที่ถ่ายเป็นน้ำ ใช้ได้ทั้งเด็กเเละผู้ใหญ่
ORS จะต้องมี Sodium ที่มีความเข้มข้นเท่าๆกับ Glucose คือเมื่อผสมเเล้วจะมีตวามเข้มข้น 75 mmol/L เช่นเดียวกัน สัดส่วน 1:1 และต้องมี Potassium เป็นส่วนประกอบ
Dyspepsia
Functional dyspepsia
อืดแน่นท้องหลังอาหาร
อิ่มง่ายกว่าปกติ
ปวดท้องบริเวณลิ้นปี่
แสบท้องบริเวณลิ้นปี่ มาเป็นเวลาอย่างน้อย 3 เดือน ร่วมกับไม่พบโรคทางกายที่เป็นสาเหตุของอาการ
dyspepsia อาจเป็นอยู่ตลอดเวลา หรือ เป็นๆ หายๆ
การถ่ายอุจจาระ และการเกิด ไม่ได้ สัมพันธ์ กับการถ่ายอุจจาระที่ผิดปกติไป ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญ ของ irritable bowel syndrome
▪ Biliary colic
Typical epigastric or right upper quadrant pain
Characteristically radiating to the back or through the
region of the right shoulder blade
Usually sudden in the onset, reaching its maximum intensity in 15-60 minutes and invariably constant once it reaching its intensity
The attack possibly lasting many hours before subsiding
The pain usually assumes a characteristic pattern for each individual
▪ Irritable bowel syndrome(IBS)
มีอาการปวดอึดอัดไม่สบายท้อง เป็นเวลาอย่างน้อย 3 เดือน
มีอาการอื่นๆของระบบทางเดินอาหารที่พบร่วมด้วยได้ ความถี่ในการถ่ายอุจจาระ ปกติ โดยมีความถี่ในการถ่ายอุจจาระ > 3 ครั้ง/ วัน หรือ < 3 ครั้ง/ สัปดาห์
มีลักษณะของอุจจาระที่เปลี่ยนไป เช่น เป็นก้อนแข็งกว่าปกติ หรือ เป็นน้ำ
มีความผิดปกติในการถ่ายอุจจาระ ได้แก่ straining, urgency, or felling of incomplete evacuation
▪GERD
การมีอาการแสบร้อนบริเวณลิ้นปี ขึ้นมาที่บริเวณกระดูกกลางหน้าอก หรือ ถึงต้นคอ (heartburn)
และ / หรือ อาการเรอเปรี้ยว หรือเรอเป็นกรดมีน้ำเปรี้ยวๆ แสบขม คล้ายกรดไหลย้อนขึ้นมาในลำคอ (acid regurgitation)
Chronic gastritis
การอักเสบเรื้อรังของเยื่อบุ mucosa ร่วมกับมี mucosal atrohy และ epithelial metaplasia
ทำให้มีอาการปวดท้องแน่นท้องเรื้อรัง (Dyspepsia)
มีโอกาสเกิด Dyspepsia และเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง
ติดเชื้อกระเพาะอาหารเรื้อรังโดยเฉพาะจาก H.pylori
ภาวะทางภูมิคุ้มกัน มี Antibody ทำลาย parietal cells เกิด gastric hypochlordria และ pernicious anemia
Acute gastritis
อักเสบเยื่อบุอาหารเฉียบพลัน ลักษณะที่พบ mucosa บวมแดง อาจมีจุดเลือดออกและอาจมีการหลุดลอกของ mucosa เป็นแผลตื้นๆ
สาเหตุเกิดจาก รับประทานยาแก้ปวดกลุ่ม NSAIDs เช่น aspirin เป็นประจำ
ดื่มแอลกอฮอล์มากเป็นประจำ สูบบุหรี่มาก
Peptic ulcer disease
แผลที่ mucose อาจจะลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อหรือลึกมากกว่านั้น เกิดได้ที่ duodenum or lower esophagus
ความไม่สมดุลระหว่างกลไกการป้องกันเยื่อบุ เเละการทำลายเนื่องจากกรดและเอนไซม์ pepsin
H2 blocker
Ranitidine : Ranidine inj, Xanidine tab
Famotidine : Famoc tab
Cimetidine
Nizatidine
Jaudice
causes
Bilirubin
ปริมาณของ bilirubin ที่ผลิตขึ้นต่อวัน 0.2-0.3 gm. จากการสลายของ heme เช่น Spleen, Liver and bone marrow
The turnove of hepatic heme or hemoproteins และจากการสลายของ heme ที่ยังเจริญไม่เต็มที่ในไขกระดูก
อัตราการสร้าง bilirubin = hepatic uptake conjugation และ การขับออกทางน้ำดี
1. Hemolysis
hemolytic anemia such as G-6-PD deficiency, Thalassemia, Autoimmune hemolytic anemia.
Ineffective erythropoiesis such asThalassemia,megaloblastic anemia.
2. ความผิดปกติของการส่ง Unconjugated bilirubin เข้าสู่เซลล์ตับ
ยาบางชนิด เช่น Probenecid, Rifampicin,
portosystemic shunting of blood
3. ความผิดปกติในการ Conjugation of bilirubin
Prematurity
Genetic Disorders
ขาด enzyme bilirubin UDP-glucuronosyl transferase
Gilbert's Syndrome
: ซึ่งเป็นความผิดปกติทางพันธุกรรมทำให้ตับไม่สามารถสังเคราะห์บิลิรูบินแล้วขับออกไปได้ตามปกติ
Crigler-Najjar Syndrome
: an inability to properly convert and clear bilirubin from the body
Hormone และยาบางชนิด
pregnanediol
4. Disorders of excretion bilirubin
Genetic Disorders
Dubin johnson and Rotor syndromes
ยาและสารเคมี เช่น Ethanol, ยาคุมกำเนิด, methyltestosterone
ภาวะการติดเชื้อ รวมทั้ง viral hepatitis
ตับแข็งชนิด decompensated cirrhosis
ความผิดปกติในระบบไหลเวียนเลือดภายในตับ เช่น เลือดคั่งในตับ ความดันเลือดต่ำ
4.1 ภาวะอุดกั้นทางเดินน้ำดี
4.1 Intrahepatic obstruction
4.1.3 intrahepatic duct stone
4.1.2 sclerossing cholangitis
4.1.1 Primary bilirubin cirrhosis
4.2 extrahepatic obstruction
4.2.1 stone พังผืด
4.2.2 เนื้องอกของทางเดินน้ำดี เเละเนื้องอกตับอ่อน
Jaundice is a condition in which the skin, sclera (whites of the eyes) and mucous membranes turn yellow. This yellow color is caused by a high level of bilirubin, a yellow-orange bile pigment.
Cholestasis
: การคั่งของน้ำดีในเลือด ซึ่งมนน้ำดีมีทั้ง bile salf and bile acid อาจทำให้มีอาการคันร่วมด้วย
Clinacal Feature of Cholestasis
jaundice
itchy skin (pruritus).
skin xanthomas or focal accumulations of cholesterol
elevated serum alkaline phosphatase and g-glutamyl transpeptidase
intertinal malabsorption, including nutritional deficiencies of the Fat-soluble vitamins A, D, or K
Viral Hepatitis
cases
infection
Hepatitis A, B, C, D, E
Bacteria, TB
ยาที่มีผลต่อตับ เช่น ยาวัณโรค, Paracetamol
alcohol
โรคภูมิต้านตัวเอง
Hepatitis A Virus
TRANSMISSION OF A Hepatitis
Ingestion of contaminated food and water
Direct contact with an infected person
สามารถทำให้เกิดอาการอักเสบของตับ ตั้งเเต่อาการน้อยจนถึงรุนเเรงมาก
การติดต่อของโรคเกิดจากการรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำที่มีเชื่อไวรัสตับอักเสบเข้าไปนอกจากนั้น อาจจะเกิดจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเกิดไม่บ่อย
ระยะฟักตัว
ตั้งเเต่ได้รับเชื้อจนกระทั่งเกิดอาการของโรคโดยเฉลี่ยประมาณ 28 วัน(15-50)
การวินิจฉัย
ระยะที่มีอาการ HAV-IgM 1-10 วัน
เคยรับเชื้อมาก่อน HAV-IgG มากกว่า 14 วัน
ปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อ
นักท่องเที่ยวจากประเทศพัฒนาไปยังประเทศที่มีการระบาด
ประชาชนที่อาศัยในประเทศที่มีการระบาด
เด็กหรือเจ้าหน้าที่ในศูนย์เลี้ยงเด็ก
ผู้ที่อาศัยในชุมชนแออัด
ชายรักร่วมเพศ
การรักษา
ผู้ป่วยหายเองได้ พักผ่อนให้เพียงพอ ต้องระวังยาที่มีผลต่อตับ เช่น CPM
การป้องกันไวรัสตับอักเสบ เอ
ฉีดวัคซีน
ล้างมือทุกครั้งหลังเข้าห้องน้ำหรือก่อนปรุงอาหาร
เมื่อต้องไปต่างประเทศให้ดื่มน้ำต้มสุก
Hepatitis B Virus
TRANSMISSION OF B Hepatitis
Contact with infected blood and body fluids.
Mother-to-child transmission.
Unprotected sex.
symptoms
เกิดหลังได้รับเชื้อประมาณ 45 - 90 วัน บางรายอาจจะนานถึง 180 วัน
ผู้ป่วยเฉียบพลัน เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย มีไข้ เเน่นท้อง ถ่ายเหลว 4-15 วัน หลังจากนั้นจะมีตัวเหลือง ตาเหลือง อาการหายไปภายใน 1-4 wks. ปัสสาวะสีเข้ม
การรักษา
วิธีการรักษาขึ้นกับระยะของโรค
งดแอลกอฮอล์
ยาที่ใช้รักษา
Peg-Interferon
Lamivudine
Tenofovir
Entecavir
การป้องกัน
การให้วัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี สำหรับฉีดสร้างภูมิคุ้มกันในกลุ่มคนที่มีอัตราการติดเชื้อสูง เช่น เเพทย์ พยาบาล
ใช้กระตุ้นให้เกิดภูมิในกลุ่มที่มีโอกาสติดเชื้อสูง เช่น ผู้ป่วยโรคไตที่ต้องฟอกเลือด ผู้ที่ต้องได้รับการถ่ายเลือดบ่อย
Hepatitis C Virus
TRANSMISSION OF C Hepatitis
Unsafe injection practice
Infection blood or organ transfer
Unprotected sex
ภาวะที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี
ตับอักเสบเฉียบพลัน
เมื่อเข้าสู่ร่างกาย จะทำให้เกิดการอักเสบของตับ ส่วนมากไม่มีอาการ
25-30% ผู้ป่วยจะมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง
ตับอักเสบเรื้อรัง
มากกว่า 80 % ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ จะเกิดภาวะตับอักเสบเรื้อรังในระยะแรกจะไม่มีอาการ จนเมื่อตับถูกทำลายไปมากพอควร จะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ตับแข็ง
ตับจะมีอาการอักเสบเเละถูกทำลายไปเรื่อยๆจนกลายเป็นตับแข็ง ถ้าเป็นมากจะมีอาการอ่อนเพลียมาก ดีซ่าน ท้องมาน เเละเกิดตับวายได้ในที่สุด
มะเร็งตับ
ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง จะมีโอกาสเกิดมะเร็งตับได้มากกว่าคนปกติ
ผลกระทบของการติดเชื้อHIV ต่อการดำเนินโรคของไวรัสตับอักเสบซี
ทำให้มีโอกาสเป็นตับอักเสบแบเรื้อรังมากขึ้น
ทำให้เป็นตับแข็งและตับวายจากไวรัสตับอักเสบซีเร็วขึ้น
ทำให้มีระดับเชื้อไวรัสตับอักเสบซี ในเลือดสูงขึ้นตามระดับภูมิต้านทานที่ลดลง (CD4 ลดลง)
ทำให้มีโอกาสเป็นมะเร็งตับสูงขึ้น
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภูมิคุ้มกันไวรัสตับอักเสบซี (Anti-HCV)เป็นภูมิที่บอกว่าเคยมีการติดเชื้อ
การนับปริมาณไวรัสโดยวิธี polymerase chain reaction ถ้าผลบวก=กำลังการติดเชื้อ
HCV genotype
AST,ALT
การรักษา
pegylated interferon (inj) + Ribavirin (oral) เป็นเวลา 24-48 wks.
ผลข้างเคียงของการรักษา
อาการคล้ายเป็นไข้หวัดใหญ่ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด คลื่นไส้ อาเจียน
ผื่นคัน ผิวหนังแห้ง
ผมร่วงชั่วคราว
วิงเวียน เหนื่อยง่าย
หงุดหงิด ซึมเศร้า นอนไม่หลับ
Cirrhosis
โรคตับเเข็งเป็นภาวะของโรคตับเรื้อรังขั้นสุดท้าย ที่เกิดจากมีการอักเสบเรื้อรังของตับ ทำให้สูญเสียเซลล์เนื้อตับ
มีการเปลียนแปลงโครงสร้างของตับทำให้เกิดพังผืดในตับปริมาณมาก ทำให้ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติเเละมีภาวะเเทรกซ้อนตามมา
พฤติกรรมที่จะเสี่ยงต่อการเกิดตับเเข็ง
การใช้สารเสพติดชนิดฉีดเข้าเส้นโดยใช้เข็มร่วมกัน
ระวังเรื่องการเปลี่ยนคู่นอนบ่อยๆ โดยไม่มีการป้องกันโรคที่เหมาะสม
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน
cases
ไวรัสตับอังเสบเรื้อรัง เช่น ไวรัสตับอักเสบบีเเละซี
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากและเป็นเวลานาน
Genetic Disorders
wilson disease ความผิดปกติของตับที่ไม่สามารถขับทองแดงออกจากร่างกายได้ทำให้มีการสะสมทองแดงมากเกินไป
hemochromatosis ภาวะที่ธาตุเหล็กในร่างกายเกินไม่สามารถขับธาตุเหล็กออกจากร่างกายได้อาจเกิดจากโรคพันธุกรรม
alpha 1 antitrypsin deficiency : เป็นโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากการขาดโปรตีนชนิดหนึ่ง เมื่อร่างกายพร่องเอนไซม์ Alpha-1-Antitrypsin จะส่งผลให้ถุงลมที่ปอดถูกทำลาย เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดถุงลมโป่งพอง
Cystic fibrosis : ความผิดปกติทางพันธุกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของโปรตีนที่ทำหน้าที่ในการเคลื่อนย้ายเกลือเข้าและออกจากเซลล์ ระดับเกลือในเซลล์ที่ผิดปกติทำให้เกิดเมือกหนาและเหนียวในระบบทางเดินหายใจ ระบบย่อยอาหาร และระบบสืบพันธุ์
glycogen storage disease : ความผิดปกติของ glycogen metabolism ซึ่งจะเปลี่ยนวิธีที่ร่างกายใช้และเก็บไกลโคเจน ซึ่งเป็นรูปแบบของน้ำตาลหรือกลูโคส
ภาวะไขมันคั่งตับ มักพบในคนอ้วนหรือคนไข้เบาหวาน
โรคภูมิแพ้ตนเองที่เกิดกับตับ
primary biliary cholangitis
primary sclerosing cholangitis
autoimmune hepatitis
โรคท่อทางเดินน้ำดีฝ่อตั้งเเต่แรกเกิด (biliary atresia)
อาการเเละอาการเเสดง
Feeling of enlarged abdomen
Swollen abdomen/ legs
General malaise, fitigue
Jaundice / itch
Anorexia/ weight loss
ในผู้หญิงอาจมีประจำเดือนผิดปกติ ในผู้ชายอาจมีเต้านมขยายใหญ่ขึ้นพร้อมอาการปวด สมรรถภาพทางเพศลดลง
มีอาการคันที่ผิวหนังอย่างรุนเเรง เนื่องจากสารประกอบของน้ำดีถูกฝังอยู่ในผิวหนัง
ฟกช้ำหรือเลือดออกได้ง่าย เนื่องจากการผลิตโปรตีนที่เป็นส่วนประกอบในการทำให้เลือดแข้งตัวลดลง
มีอาการทางสมอง เนื่องจากตับไม่สามารถกรองสารพิษออกมาได้ สังเกตได้จากผู้ป่วยละเลยการดูเเลตนเอง/ ไม่มีอาการตอบโต้/ลืมง่าย/ไม่มีสมาธิ
การวินิจฉัย
History Taking
Ultrasound
CT scan
การตรวจเลือด
Biopsy เพื่อเอาตัวอย่างจากเนื้อตับไปตรวจ
Radioisctope scan
การรักษาเเละการดูแล
การให้ยาต้านไวรัสตับอักเสบบี หรือซี
การให้ยากดภูมิคุ้มกัน
การให้ยาขับธาตเหล็กหรือทองแดง
การหาสาเหตุของตับแข็ง เพื่อให้การรักษาให้ ตรงตามสาเหตุ
ประเมินระยะของโรคตับเเข็งเพื่อดูว่ามีภาวะแทรกซ้อนอะไรบ้าง
5.1 ส่องกล้อง เพื่อดูหลอดเลือดขอดที่หลอดอาหารหรือกระเพาะอาหาร
5.2 Ultrasound เพื่อดูน้ำในช่องท้อง
การคัดกรองมะเร็งตับ โดยการเจาะเลือดเเละ Ultrasound ทุก 6-12 เดือน
liver transplantation
การดูเเลภาวะโภชนาการให้เหมาะสม คำแนะนำ คือ
รับประทานโปรตีนมนปริมาณที่เหมาะสม โดยรับประทานโปรตีนที่ย่อยง่าย เช่น ปลา หรือโปรตีนจากพืช เช่น ถั่วเหลือง
หากมีอาการบวมที่ข้อเท้าและท้อง ควรจำกัดเกลือและอาหารรสเค็ม
งดการดื่มแอลกอฮอล์
หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารดิบโดยเฉพาะอาหารทะเล เนื่องจากอาจมีเชื้อ bacteria ที่ทำให้เกืดการติดเชื่อที่รุนเเรง
เเบ่งมื้อรับประทานเป็นหลายๆมื้อ หากกินได้ครั้งละไม่มากจากการมีท้องมาน
ยกเว้น มีภาวะซึมจาก Ammonia คั่งพิจารณาให้เป็น โปรตีนจากพืชหรือโปรตีนเสริมสำเร็จสำหรับคนไข้โรคตับแข็งได้
เข้ารับการฉีดวัคซีนสำหรับโรค
ไวรัสตับอักเสบเอ เเละบี
ไข้หวัดใหญ่เเละโรคปอดบวม
Gastrointestinal Bleeding
hematemesis
ภาวะเลือดออกทางเดินอาหารส่วนต้นแบบเฉียบพลันหรือรุนแรง เเละมักจะมีปริมาณมากจนทำให้ผู้ป่วยต้องอาเจียน
Coffee ground
Upper GI Bleeding ที่ผสมกรดเเละสารคัดหลั่งในกระเพาะอาหาร
เเสดงถึง ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหารที่หยุดแล้ว หรือ เคยตกเลือดแต่ออกไม่มาก
ลักษณะคล้ายสีกาแฟออกสีดำคล้ำ
Melena
ลักษณะของ acid hematin เกิดจาก Hemoglobin รวมกับกรดในกระเพาะอาหาร
(Hb+acid = acid hematin )
มีกลิ่นเฉพาะเเละลักษณะเหนียวคล้ายยางมะตอย
กรณีเลิอดออก 1000 CM3 อาจทำให้เห็น melena ได้จนถึง 5-7 d. และอาจพบว่า occult blood ยังแสดงผลบวกได้ถึง 21 d. หลังจากเลือดออก
symptoms
abdominal pain
painful swallowing
Indigestion
Hematochezia
การถ่ายเป็นเลือดแดง หรือถ่ายเลือดสีคล้ำหรือแดงดำ เห็นได้ด้วยตาเปล่า
ไม่รวม การถ่ายดำเป็นสีน้ำมันดิน (melena) หรือ การตรวจพบเลือดในอุจจาระด้วยวิธีการทางเคมี (occult blood)
แบ่งได้ 2 ลักษณะ
ถ่ายเป็นเลือดครั้งละไม่มาก จะเป็นๆหายๆ หรือจะเป็นต่อเนื่อง อาจเป็นสีแดงสด เเดงคล้ำ มีหรือไม่มีมูกปน
สาเหตุของโรคอยู่ที่ ปากทวารหนัก(ริดสีดวง, เเผลเรื้อรังมแผลฉีกขาด), อยู่ใน Rectum เเละ สำไส้ใหญ่ส่วนปลาย (เนื้องอก, เเผลเรื้อรัง, การอีกเสบ)
ถ่ายเป็นเลือดอย่างรุนเเรงหรือจำนวนมาก อาจจะหลายครั้งในช่วงระยะเวลาสั้นๆ หรืออาจเป็นต่อเนื่องจนความดันโลหิตตก ปริมาณเลือดออก > 1,000 ml.
มีสาเหตุ ได้แก่ angiodysplasia, diverticular disease, meckel diverticulum, typhoid, segmental enteritis,
การตรวจร่างกาย
Vital signs
abdominal- surgery scar,mass
Signs of chronic liver disease
NG tube
investigation
CBC, Blood chemistry
BUN/Cr.
LFT
coagulogram
group match
เป็นอาการผิดปกติในทางเดินอาหาร เลือดมักปรากฏในอุจจาระหรืออาเจียน แต่ไม่สามารถมองเห็นได้เสมอไป แม้ว่าอาจทำให้อุจจาระดูเป็นสีดำหรือชักช้า ระดับการตกเลือดอาจมีตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงรุนแรงและอาจถึงแก่ชีวิตได้
โรคในระบบสืบพันธุ์
เชื้อไวรัส เช่น เริม หูดหงอนไก่
อาการที่พบบ่อย
มีตกขาวผิดปกติ (มากขึ้น เปลี้ยนลักษณะไปจากเดิมเเละมีกลิ่น)
คัน หรือมีการระคายเคือง เจ็บผิดปกติขณะมีเพศสัมพันธ์
มีตุ่ม ผื่นหรือแผลบริเวณอวัยวะ
ปัสสาวะแสบขัด อาจมีหนอง
บางโรคไม่มีอาการในระยะแรก แต่มีอาการของระบบอื่นๆตามมาภายหลัง เช่น ซิฟิลิสบางระยะ เอดส์
Tricgomonas Vaginitis
ลักษณะทางคลินิก
: ผู้หญิงมีตกขาวผิดปกติ สีเหลืองออกเขียว มีกลิ่น อาจมีเเสบระคายเคืองอวัยวะเพศ
การวินิจฉัย
: Wet smear พบTricgomonas Vaginitis หรืออาจพบจาก culture
อาการเเละอาการแสดง
ตกขาวมีสีเหลืองปนเขียว ปริมาณมาก มีกลิ่นเหม็นเป็นฟอง (Frothy)
ปากมดลูกมีเนื้อเปื่อยุ่ยเเละมีสีแดงจากจุดเลือดออกเป็นหย่อมๆ
"Strawberry Cervix"
การรักษา
Metronidazole
2 gm กินครั้งเดียว
Tinidazole
2 gm กินครั้งเดียว(ก่อนนอน)
Metronidazole
(500) กินวันละ 2 ครั้งหลังอาหารx7 วัน
ถ้าเป็นผู้ติดเชื้อ HIV ควรเลือกแบบกิน7วันจะได้ผลดีกว่า
Vaginal Candida (VC)
ลักษณะทางคลินิก
: มีตกขาวผิดปกติ (คล้ายตะกอนนม) อาจคัน/แสบช่องคลอด มีปัสสาวะเเสบขัด
การวินิจฉัย
: ตกขาวตรวจทางกล้องจุลทรรศน์แบบ KOH prep. พบลักษณะของ mycelium, pseudohyphae or budding yeast
การรักษา
รายไม่มีภาวะแทรกซ้อน ให้ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง
fluconazole
(150) กินครั้งเดียว
itraconazole
(200) แบ่งกิน 2 ครั้ง ใน1วัน
clotrimazole
(500) : สอดช่องคลอดครั้งเดียวหรือแบบ 100 mg สอดช่องคลอด 2 เม็ด วันละครั้งต่อเนื่อง 3 วัน
รายที่มีภาวะแทรกซ้อน
เป็นซ้ำโดยมากกว่า 4 ครั้งในรอบปี
fluconazole
(100-200 mg) กิน day 1,4,7 แล้วกินต่อ สัปดาห์ละครั้งอีก 6 เดือน
รายที่มีอาการรุนแรง เช่น แคมมีการบวมแดงอย่างมาก มีรอยแตก
fluconazole
(150 mg) กิน day 1 และ 7
Bacterial Vaginosis (BV)
Gonorrhea
UNCOMPLICATED GONORRHEA
Ceftriaxone
500 mg IM once (มีที่เยื่อบุตาให้ 1 g)
Cefixime
400 mg กินครั้งเดียว
Gentamicin
160-240 mg IM/IV once ควรให้การรักษาหนองในเทียมร่วมด้วย
COMPLICATED GONORRHEA
2.1 มีภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่ (local complicated)
Bartholin’s abscess, epididymitis,
para/periurethral abscess, cowperitis
กรณีมี Bartholin’s abscess ควร I&D และทำ
marsupialization เพื่อป้องกันการเป็นซ้ำ
Ceftriaxone
500 mg IM OD (เหมือนในแบบ
uncomplicated) โดยให้อย่างน้อย 2 วัน หรือจนกว่าจะหาย
2.2 มีภาวะแทรกซ้อนกระจาย (disseminated gonococcal infection)
กรณีมี petechiae/pustule ที่ผิวหนัง, septic arthritis/
tenosynovitis → Ceftriaxone 1-2 g IV OD 7 วัน
กรณีมี meningitis → Ceftriaxone 1-2 g IV q12h
10-14 วัน
กรณีมี endocarditis → Ceftriaxone 1-2 g IV
q12h 4 สัปดาห
ทุกกรณี ให้Azithromycin 1 g กินครั้งเดียว ร่วมด้วย
Non-specific Urethritis
ลักษณะทางคลินิก
ผู้ชายมักจะมีปัสสาวะแสบขัด คันในท่อปัสสาวะ มีหนองคล้ายมูกใสหรือขุ่น
ผู้หญิงส่วนใหญ่ไม่มีอาการ ส่วนน้อยอาจมีตกขาว อาจตรวจเจอการอักเสบที่ปากมดลูก
การวินิจฉัย
urethral discharge gram stain พบ PMN >/= 5
cells/oil field
cervical discharge เป็นลักษณะ mucopurulent โดย
ไม่พบ gram-negative intracellular diplococci
chlamydial test ได้ผลบวก
การรักษา
ใช้ยาอย่างใดอย่างหนึ่ง
Azithromycin 1 g กินครั้งเดียว ขณะท้องว่างหรือก่อนอาหาร 1 ชั่วโมง
Doxycycline (100) กินวันละ 2 ครั้ง หลังอาหาร x 14 วัน
Roxithromycin (150) กินวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร x 14 วัน
Erythromycin stearate (500) กินวันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร x 14 วัน
ร่วมกับให้การรักษาและติดตามคู่เพศสัมพันธ์แม้ไม่มีอาการ
Gardnerelle vaginalis
อาการเเละอาการแสดง
: ตกขาวมีกลิ่นเหม็นคล้ายปลาเน่า ลักษณะสีขาวปนเทาไม่มีฟอง
การวินิจฉัย
: นำมูกไปตรวจพบ pH >5
Whiff test
: 5 หยด 10 % KOH บนตกขาวได้ผลบวก คือมีกลิ่นน้ำคาวปลา
Wet smear
พบ G.vaginalis จำนวนมาก
การรักษา
Metronidazole
,
Clindamycin
,
Clindamycin ovule
แนวคิดของการดูแลรักษาผู้เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
หลายโรคสัมพันธ์กับภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง และอาจมีโรคอื่นแฝงซ่อนอยู่ด้วย จึงควรได้คัด
กรอง
บางโรคมีความจำเป็นต้องติดตามคู่มีเพศสัมพันธ์มาตรวจหรือรักษาด้วย โดยเฉพาะในช่วง
60 วันก่อนมีอาการ (หนองใน, หนองในเทียม, HIV, TV, ซิฟิลิส, เชื้อรา)
เบาหวาน, HIV, ซิฟิลิส (VDRL/RPR)
ควรแนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขอนามัยและ safe sex ในช่วงให้การดูแลรักษา
การใช้ยากลุ่ม Metronidazole ต้องให้หยุดการดื่ม alcohol ด้วย
ใน Gonorrhea หากมีปัญหา treatment failure ควรท า C/S
Pelvic inflammatory disease (PID)
Sexually transmitted organisms
Non- Sexually transmitted organisms
Normal flora ช่องคลอด เเละทวารหนัก
การสวนล้างช่องคลอด
สิ่งแปลกปลอม
การทำหัตถการและการผ่าตัด
การบาดเจ็บจากการมีเพศสัมพันธ์
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น
ปวดมากตอนเคลื่อนไหวร่างกาย
ปวดท้องน้อยทั้ง 2 ข้าง หลังมีประจำเดือนใหม่
มีไข้สูง ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร คลื่นไส้/อาเจียน
มีเลือดออกทางช่องคลอดกะปริดกะปรอย