Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Biotransformation - Coggle Diagram
Biotransformation
Factors related to biotransformation :checkered_flag:
Species :check:
Age :check:
Gender :check:
Genetic variability :check:
Nutrition, disease :check:
Exposed to other chemicals :check:
Dose levels :check:
Biotransformation reaction :checkered_flag:
Phase I เป็นปฎิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยทั่วๆไป ซึ่งจะเกิดขึ้นเพื่อปรับแต่งสารที่เข้าร่างกายโดยการเพิ่มหน้าที่โครงสร้าง :check:
ซึ่งสารที่เกิดขึ นใหม่ ถ้าไม่สามารถขับออกได้เลย :check: ก็จะต้องมีความเหมาะสมสำหรับ เอนไซม์ใน phase II
phase II เป็นปฎิกิริยาที่มีเอนไซม์ ที่จะท้าปฎิกิริยาโดยการ conjugate กับสารที่ถูกปรับเปลี่ยนแล้ว :check:
ซึ่งปกติสารที่ถูก conjugate แล้วจะมีขนาดใหญ่ยากที่จะซึมผ่านเซลล์กลับเข้าได้อีกและสามารถละลายน้ำได้ :check:
บางกรณี สารพิษที่มีกลุ่มที่สามารถจะ conjugate ได้ สามารถที่จะเข้าท้าปฏิกิริยาใน Phase II ได้เลย ไม่ต้องผ่าน Phase I :check:
Biotransformation site :checkered_flag:
Liver, kidney and :check: lung
ตับ เป็นอวัยวะแรกที่เกิดกระบวนการ biotransformation เนื่องจาก มีขนาดใหญ่ และมีความเข้มข้นของเอนไซม์สูง :check:
ภายในเซลตับ เซลล์แรกที่เกิดขึ น คือ microsomes of endoplasmic reticulum and the soluble fraction of the cytoplasm :check:
เอนไซม์ ใน microsomal จะมีความสัมพันธ์กับการเกิด ปฎิกิริยาใน :check: phase I
เอนไซม์ทั งหมดที่มีความส้าคัญ ใน phase :check: I คือ จะอยู่ในระบบ cytochrome P-450
Phase II reactions: Glucuronide conjugation :checkered_flag:
เป็นปฎิกิริยาที่ส้าคัญมาก : :check:
โมเลกุลที่ถูกเพิ่มเข้าในโมเลกุลของสารจาก phase I โดยทั่วไปเป็น glucolonic acid ซึ่งเป็นโมเลกุลที่แบ่งจาก glucose และเป็นสารที่ให้พลังงาน :check:
สารที่เกิด ปฎิกิริยา glucuronidation คือ สารที่มี พันธะ oxygen ,nitrogen or sulfur :check:
ปกติปฎิกิริยา Glucuronide conjugation มักจะลดความเป็นพิษ :check:
สารประกอบที่เกิดขึ นจะสามารถละลายน้า และถูกขับออกทางไต :check: หรือ น้าดี ขึ นกับขนาดของการ conjugation
Routes of Exposure :checkered_flag:
Inhalation :red_flag:
เกิดอาการทางระบบหายใจได้มาก เช่น แสบคอ หอบเหนื่อย ปอดบวมน้า :check:
Ingestion :red_flag:
เกิดอาการในระบบทางเดินอาหาร เช่น แสบท้อง
ปวดท้อง ทางเดินอาหารเป็นแผล :check:
Skin absorption :check:
เกิดอาการขึ้นที่ผิวหนัง เช่น คัน ผื่นแดง ตุ่มน้ำ :check:
Result :checkered_flag:
Facilitated excretion
Converts lipophilic to
hydrophilic compounds :check:
Detoxification/ inactivation
Converts chemicals to
less toxic forms :check:
Metabolic
activation
Converts chemicals to more toxic active Form or converts inactive drug to its active form :check:
หลักการทั่วไป :checkered_flag:
สารที่ละลายในไขมันได้ จะยากแก่การกาจัดออก (Elimination) และยังสามารถสะสมในร่างกายจนถึงระดับของความเป็นพิษได้ :check:
สารพิษที่ละลายในไขมันเกือบทุกชนิด สามารถถูกเปลี่ยนให้อยู่ในรูปละลายน้าได้ด้วยกลไกการเปลี่ยนโครงสร้าง (biotransformation) ซึ่งมีผลทาให้สามารถถูกขับออกจากร่างกายได้ :check:
สารพิษที่ละลายน้าง่ายจะถูกขับออกได้ดีกว่า :check:
Chemical Reactions(ปฏิกิริยาเคมี) :checkered_flag:
การสร้างเนื้อเยื่อใหม่ การกำจัดเนื้อเยื่อเก่า การเปลี่ยนอาหารให้เป็นพลังงาน การก้าจัดของเสีย และการขับสารพิษออก :check:
ส่วนสำคัญในการเร่งให้เกิดปฎิกิริยาเคมี คือ สารโปรตีน ที่เรียกว่า Enzyme โดยกระบวนการเร่งเรียกว่า Catalyze :check:
Catalyst คือสาร ที่สามารถจะเร่งการเกิดปฏิกิริยาเคมี ของสารอื่นๆได้ โดยที่ตัวมันเองไม่มีการเปลี่ยนโครงสร้างที่ถาวร :check:
Phase I reactions :checkered_flag:
เป็นปฎิกิริยาง่ายๆ เมื่อเทียบกับ phase :red_flag: II
สารพิษเมื่อเข้าสู่เซลจะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างใน phase I ด้วย 2 หลักการ : ใช้เอนไซม์โดยตรง กับ ใช้เอนไซม์ใน microsome :red_flag:
ปฎิกริยาหลักใน phase I ; มี 3 หลักการ :red_flag:
Oxidation :check:
Reduction :check:
Hydrolysis :check:
Phase II reactions :checkered_flag:
โดยทั่วไปสารที่เข้ามาใน phase II จะเป็นสารที่มี กลุ่มเคมีที่ไวต่อการท้าปฎิกิริยา :red_flag:
Hydroxyl (-OH) :check:
Amino (-NH2) :check:
Carboxyl (-COOH) :check:
เกิดปฎิกิริยา Conjugation :check:
ผลของการ Conjugated จะท้าให้สารสามารถที่จะละลายน้าได้ดี มากกว่าสารเริ่มต้น :red_flag:
Elimination :checkered_flag:
สารพิษเมื่อถูกดูดซึม จะกระจายเข้าสู่กระแสเลือด และน้ำเหลือง โดยจะผ่านเข้าสู่กระบวนการเปลี่ยนโครงสร้างเป็นสารเมตาโบไลต์ ก่อนที่จะขับออก (Excretion) จากร่างกาย :check:
สารพิษที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายจะถูกขับออกได้ 3 ทางหลัก คือ :red_flag:
ปัสสาวะ :check:
อุจจาระ/น้ำดี :check:
ลมหายใจ :check:
นอกจากนี ยังมีทางอื่นๆ เช่น น้ำนม
เหงื่อ น้าลาย น้าตา เล็บ ผม เป็นต้น :check:
หลักการ ของ Biotransformation :checkered_flag:
เป็นกลไกการที่สาคัญที่จะป้องกัน สารพิษและของเสียในร่างกาย ให้เป็นสารที่มีพิษต่อร่างกายให้น้อยที่สุด :check:
และทำให้สารเหล่านั้นถูกขับออกจากร่างกายได้ :check:
มีความสาคัญอย่างไร :checkered_flag:
เป็นการเปลี่ยนแปลงสารเพื่อให้ง่ายต่อการกาจัดออกจากร่างกาย :check:
ทำให้ยาได้รับการกระตุ้นให้ออกฤทธิ์ :check:
Enzyme :checkered_flag:
คือ สาร catalysts ที่ใช้ในกระบวนการ biochemical reactions ในร่างกาย :check:
สรุป Phase I :checkered_flag:
Phase I biotransformation สารจะถูกเปลี่ยนให้สามารถแตกตัวได้ง่าย :check: หรือ สามารถละลายน้าได้
หรือ อาจจะเปลี่ยนเป็นสารเริ่มต้น (intermediate) ใน phase II :check:
สาร intermediate ที่ได้จาก phase I อาจจะมีประโยชน์หรือเกิดความเป็นพิษได้มากขึ้น :check: