Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute appendicitis - Coggle Diagram
Acute appendicitis
การพยาบาล
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
- แนะนำตัวและสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ และประเมินความเข้าใจของผู้ป่วย
- งดน้ำและงคอาหารก่อนผ่าตัดเพื่อป้องกันการสำลักเอาเศษอาหารเข้าปอดในขณะไม่รู้สึกตัว จากให้ยาระงับความรู้สึก
- ทำความสะอาดร่างกายทั่วไปและเฉพาะบริเวณที่จะทำผ่าตัด ขาหนีบ 2 ข้าง บริเวณฝีเย็บ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
- หากผู้ป่วยเป็นด็กโตหรือผู้ใหญ่ควรได้รับการสอนเรื่องการบริหารการหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้หายใจเข้าช้าๆผ่านทางจมูกจนรู้สึกหน้าท้องป้อง แล้วหายใจช้าๆออกทางปากและสูดหายใจเข้าออก ลึกๆ4-5 ครั้งแล้วไอออกมาแรงๆ2 ครั้งติดๆกัน เพื่อขับเสมหะ
-
- ผู้ป่วยจะได้รับการดูแลหลังผ่าตัดในห้องพักฟื้น 2 ชั่วโมง จนกระทั่งปลอดภัย
2.เมื่อรู้สึกตัวให้ขยับและพลิกตะแดงเปลี่ยนท่านอน ทุก 1-2 ชั่วโมง จะทำให้ระบบทางเดินอาหาร มีการเคลื่อนไหวหลังจากการได้รับยาระงับความรู้สึก ทั้งนี้เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอาการท้องอืด
- แนะนำให้หายใจเข้าลึกๆเพื่อกระตุ้นการทำงานของระบบทางเดินหายใจซึ่งป้องกัน ภาวะแทรกซ้อนทางปอด เช่น ปอดแฟบ
- ในรายที่ใช้ยาระงับความรู้สึกทางไขสันหลังให้นอนราบไม่หนุนหมอน 8-12 ชั่วโมง เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อน ได้แก่ การปวดหลัง ปวดศีรษะ
5.ดูแลให้ได้รับการวัดสัญญาณชีพหลังผ่าตัดทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้งและทุก 1 ชั่วโมง จนกว่าสัญญาณชีพจะปกติ
- ประเมินอาการปวดแผลและให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
- แนะนำให้สูดลมหายใจเข้าลึกๆ 4-5 ครั้ง แล้วไอออกมาแรงๆ 2 ครั้ง ติดกันเพื่อขับเสมหะ
- ตรวจท้องฟัง bowel sound ค่าปกติ 5-10 ครั้ง/นาที สอบถามอาการเรื่องการขับถ่าย การผายลม เพื่อประเมินการทำงานของลำไส้
- สังเกตอาการบวมแดงของแผล พร้อมทำแผลวันละครั้งโดยใช้เทคนิคปลอดเชื้อ
- ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา แนะนำอย่าให้แผลโดนน้ำ หรือแกะเกาแผล หากมีอาการคัน ให้ใช้มือลูบ และแนะนำกระตุ้นให้ลุกเดิน เพื่อให้dischargeระบายออกได้ดี
- แนะนำการปฏิบัติตัวมื่อผู้ป่วยกลับบ้านการประกอบกิจวัตรประจำวัน การดูแลแผล การรับประทานอาหาร การออกกำลังกายและให้มาตรวจตามนัดเพื่อติดตามการรักษา
อาการและอาการแสดง
-
-
-
-
-
-
กดเจ็บใกล้บริเวณ McBurney’s point (จุดที่อยู่ระหว่าง right anterior 2 superior iliac spine กับสะดือ โดยห่างจากสะดือเป็นระยะ 2/3)
-
การวินิจฉัยแยกโรค
-
2.การตรวจทาง LAB
CBC
WBC 10,000-15,000 /ลบ.มม.
-
-
- การตรวจอื่นๆ อาจให้ผลบวกในการตรวจ เช่น
-
Obturator sign
ถ้าไส้ติ่งที่อักเสบอยู่ติดกับกล้ามเนื้อ obturator internus จะตรวจพบการเกร็งของกล้ามเนื้อโดยงอและหมุนข้อสะโพกเข้าด้านใน การกระทำเช่นนี้จะทำให้ผู้ป่วยมีอาการเจ็บที่บริเวณท้องน้อย
Psoas sign
ไส้ติ่งที่อักเสบอาจมีตำแหน่งอยู่บนกล้ามเนื้อ psoas จะทำให้ผู้ป่วยนอนงอสะโพกขวาเพื่อคลายความเจ็บปวดมาก