Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ส่วนโครงสร้างรับแรงดัด - Coggle Diagram
บทที่ 4
ส่วนโครงสร้างรับแรงดัด
ความต้านทานต่อแรงดัด
หน่วยแรงดัดที่เกิดขึ้นสูงสุดที่หลังคานและท้องคาน คือ
ตามเกณฑ์การออกแบบ หน่วยแรงดัดสูงสุดที่เกิดขึ้นต้องมีค่าไม่เกินกว่าหน่อยแรงดัดที่ยอมให้ Fb คือ
หน่วยแรงดัดที่ยอมให้ = Cd
Cf
Fb
ผลกระทบของความลึก
เมื่อคานไม้มีความลึกเกินกว่า 30 ซม. ให้คูณค่าหน่วยแรงดัดที่ยอมให้ด้วยตัวคูณประกอบสำหรับความลึก (depth fector : Cd)
ผลกระทบของรูปร่างหน้าตัด
รูปตัดคานวงกลม : Cf =1.18
รูปตัดคานสี่เหลี่ยมจัตุรัสแต่วางเส้นทแยงในแนวดิ่ง : Cf = 1.414
รูปตัดคานตัว I หรือสี่เหลี่ยมกลวง :
โดยที่
p = อัตราส่วนระหว่างความหนาของปีกคานที่รับแรงอัดต่อความลึกทั้งหมดของคาน
q = อัตราส่วนระหว่างความหนาของแผ่นตั้ง 1 แผ่นหรือหลายแผ่นรวมกันต่อความกว้างทั้งหมดของคาน
ความต้านทานต่อแรงเฉือน
หน่วยแรงเฉือนสูงสุดในแนวขนานเสี้ยนต้องมีค่าไม่เกินไม่เกินกว่าหน่วยแรงเฉือนที่ยอมรับได้ (Fh) ตามชนิดของไม้
ความต้านทานต่อแรงกด
หน่วยแรงกดตั้งฉากเสี้ยน
ต้องมีค่าไม่มากเกินกว่าหน่วยแรงกดที่ยอมให้
ความยาวของพื้นที่ที่รับแรงกดตามเสี้ยนของไม้ไม่น้อยกว่า 15 ซม.
ความยาวของพื้นที่ที่รับแรงกดตามเสี้ยนของไม้น้อยกว่า 15 ซม.และตำแหน่งรับแรงกดอยู่ห่างจากปลายคานเกิน 7.5 ซม. จะมีหน่วยแรงกดที่ยอมให้
หน่วยแรงกดทำมุมกับเสี้ยนไม้
N = กำลังต้านทานแรงอัดในแนวทำมุม เซต้า กับเสี้ยนไม้
P,Q = กำลังต้านทานแรงอัดในแนวขนานและตั้งฉากเสี้ยน ตามลำดับ
การโก่งตัวและแอ่วตัวในแนวดิ่ง
ระยะโก่งหรือแอ่นตัวในแนวดิ่งที่ยอมให้
สำหรับคานทั่วไป
สำหรับคานสะพานทางหลวง
สำหรับคานสะพานรถไฟ
การป้องกันการโก่งทางข้าง
เมื่อ h/b น้อยกว่าเท่ากับ 2 ไม่จำเป็นต้องทำค้ำยันทางข้าง
เมื่อ h/b = 3 ต้องยึดปลายคานให้อยู่ในตำแหน่ง
เมื่อ h/b = 4 ต้องยึดปลายคานให้อยู่ในตำแหน่ง และทำให้คานอยู่ในแนวตรงโคยการยึดเป็นระยะๆ กับตงไม้
เมื่อ h/b = 5 ต้องยึดปลายคานให้อยู่ในตำแหน่ง และทำให้คานส่วนที่อยู่เหนือแกนสะเทิน
เมื่อ h/b = 6 ทำเหมือน เมื่อ h/b = 5 แต่ต้องค้ำยันทางข้าง
เมื่อ h/b = 7 ต้องยึดปลายคานให้อยู่ในตำแหน่งและทำให้คานทั้งส่วนเหนือและใต้สะเทินอยู่ในแนวตรง
การลดค่าหน่วยแรงดัดที่ยอมให้ปกติ
คานสั้น
คานยาวปานกลาง
คานยาว
การเจาะ บาก หรือหยักคาน
บากปลายคานหรือตงที่ด้สนรับแรงอัดเป็นรูปสี่เหลี่ยม
แต่เมื่อระยะ e มีค่ามากกว่าระยะ h'
บากปลายคานหรือตงที่ด้สนรับแรงดึงเป็นรูปสี่เหลี่ยม
บากปลายคานด้านรับแรงอัดเป้นแนวเฉียง
รอยต่ออยู่ห่างจากปลายไม้ไม่เกินกว่า 5h
รอยต่ออยู่ห่างจากปลายไม้เกินกว่า 5h
เกิดขึ้นทั้งที่ตรงรอยต่อและหน้าตัดทั้งหมด
การออกแบบคานประกอบ
หน่วยแรงดัดในไม้ = หน่วยแรงดัดในเหล็ก * อัตราส่วนโมดูลัส
โมเมนต์บิด
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ksc.
คานรูปตัดสี่เหลี่ยมจตุรัส
ksc.