Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานของโปรแกรมภาษาซี - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานของโปรแกรมภาษาซี
🍰ตัวดำเนินการประกอบ (compound operator) :
+= \ x+=y/8 \ x = x + y/8
%= \ x%=5 \ x = x % 5
/= \ x/=y \ x = x / y
= \ x
=y \ x = x * y
-= \ x-=5 \ x = x - 5
+= \ x+=5 \ x = x + 5
ลําดับในการดําเนินการ
()
++ --
/ %
-
+= *= /= -= %=
คําสั่ง x y
int x = 10, y = 20; 10 20
++x; 11 20
y = --x; 10 10
x = x-- + y; 19 10
y = x- ++x; 20 0
🍞ตัวแปร (variables)
กฎการตั้งชื่อตัวแปร
ห้ามใช้ชื่อเฉพาะ
ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก มีความหมายที่แตกต่างกัน
อักขระตัวแรกต้องเป็น a ถึง z และ _
ยาวสูงสุด 31 ตัวอักษร
ประกอบด้วย a ถึง z, 0 ถึง 9 และ _ เท่านั้น
ชนิดข้อมูล (data types)
ข้อมูลชนิดจำนวนเต็ม (Integer)
ข้อมูลชนิดจำนวนเต็มที่มีขนาด 2 เท่า (Long Integer)
ข้อมูลชนิดตัวอักษร (Character)
ข้อมูลชนิดเลขทศนิยม (Float)
ข้อมูลชนิดเลขทศนิยมอย่างละเอียด (Double)
การประกาศตัวแปร
ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร; ex: int count;
ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร1, ชื่อตัวแปร2, ... ; ex:int m, n;
🥖ข้อความสั่งกำหนดค่า (assihnment statement)
ตัวแปร = นิพจน์;
ข้อความสั่งที่ใช้สําหรับ สั่งให้นําผลลัพธ์ของนิพจน์ที่อยู่ด้านขวาของตัวดําเนินการเท่ากับ (=) มาเก็บไว้ในตัวแปรที่อยู่ด้านซ้ายของตัวดําเนินการเท่ากับ (=)
con = 10.5;
result = 25
6;
point = score1
2 + score2
5 + score3
3;
🧀การแสดงผลและการรับค่า (assignment statement)
ลําดับหลีก (escape sequence)
\n ขึ้นบรรทัดใหม่ (new line)
\t เลื่อนไปยังจุดตั้งระยะ (tab) ถัดไป
\a เสียงกระดิ่ง (bell)
\b ถอยไปหนึ่งที่ว่าง (backspace)
\f ขึ้นหน้าใหม่ (form feed)
\ แสดงเครื่องหมายทับกลับหลัง (backslash)
\’ แสดงเครื่องหมายฝนทอง (single quote)
\” แสดงเครื่องหมายฟันหนู (double quote)
ฟังก์ชัน scanf()
scanf(“%รูปแบบ”, &ตัวแปร);
ฟังก์ชัน printf()
printf (“สายอักขระควบคุม”, ตัวแปร);
🥟นิพจน์(expressions)
ในภาษาซี นิพจน์ หมายถึง สิ่งที่ประมวลผลแล้วสามารถให้เป็นค่าตัวเลขได้
นิพจน์ที่เป็นค่าคงที่ที่เป็นสัญลักษณ์
สําหรับนิพจน์ที่มีระดับการประมวลผลที่ซับซ้อน จะประกอบด้วย นิพจน์ที่มีระดับการประมวลผล
อย่างง่ายหลายนิพจน์ และเชื่อมต่อกันด้วยตัวดําเนินการ
จากข้อความสั่งในภาษาซีต่างเป็นนิพจน์ที่เป็นค่าคงที่
นิพจน์ที่มีลักษณะเป็นตัวแปร
🥯โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
~ฟังก์ชันหลัก (main function) มีเพียงฟังก์ชันเดียว
~ข้อความสั่งประกาศครอบคลุม (global declaration statements)
~ข้อความประกาศตัวแปรเฉพาะที่ (local declaration statement)
~ต้นแบบฟังก์ชัน (funxtion prototypes)
~ฟังก์ชัน(functions)มีได้หลายฟังก์ชัน
รหัสต้นฉบับ (source code)
~หมายเหตุ(comment) สามารถแทรกไว้ที่ใดก็ได้ภายในโปรแกรม
ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน (preprocessor statements)
🍪ตัวดำเนินการเอกภาค
(unary operator)
ตัวดําเนินการเอกภาคเติมหลัง (postfix mode) a++
จะทํางานอื่นภายในข้อความสั่งเดียวกัน
ก่อน จึงจะเพิ่มค่าให้ตัวแปร
ตัวดําเนินการเอกภาคเติมหน้า (prefix mode) ++a
จะเพิ่มค่าให้ตัวแปรก่อนแล้วจึงจะทํางานอื่น
ภายในข้อความสั่งเดียวกัน
เพิ่มค่าตัวถูกดําเนินการทีละหนึ่ง ++ x++ x = x + 1 เพิ่มค่าตัวถูกดําเนินการทีละหนึ่ง ++ ++x x = x + 1 ลดค่าตัวถูกดําเนินการทีละหนึ่ง -- --x x = x - 1
ลดค่าตัวถูกดําเนินการทีละหนึ่ง -- x-- x = x - 1
🥓ตัวคงที่ (constant)
ค่าที่เก็บในตัวคงที่จะคงเดิมไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงจนกระทั่งจบโปรแกรม แต่ค่าที่เก็บในตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
การประกาศตัวคงที่
const ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร = ค่าที่เก็บในตัวแปร;
const float pi = 3.14159; // กําหนดให้ pi เป็นตัวคงที่ชนิด float และเก็บค่า 3.14159
const float vat = 0.07; // กําหนดให้ vat เป็นตัวคงที่ชนิด float และเก็บค่า 0.07
const int count = 120; // กําหนดให้ count เป็นตัวคงที่ชนิด int และเก็บค่า 120
-#define ชื่อตัวคงที่ ค่าคงที่
-#define PI 3.14159
-#define VAT 7
-#define COUNT 120
🥨การคำนวณทางคณิตศาสตร์
บวก / + / c = a + b;
ลบ / - / c = a – b;
คูณ /
/ c = a
b;
หาร / /c = a / b; มอดูลัส / % / c = a % b;
☆()
☆* / %
☆+ -
ถ้าในนิพจน์มีตัวดําเนินการที่มีลําดับเท่ากัน จะประมวลผลจากซ้ายไปขวา
🥧การกำหนดค่าจากข้อมูลหลายชนิด(assignment with mixed types)
ถ้านิพจน์ในข้อความสั่งกําหนดค่าประกอบด้วย ตัวแปร หรือ ตัวคงที่ที่มีชนิดข้อมูลต่างกัน จะต้องแปลงให้เป็นชนิดเดียวกันก่อน แล้วจึงนํามาดําเนินการ โดยมีหลักดังนี้ คือ
ถ้าตัวแปร หรือ ตัวคงที่ มีชนิดข้อมูลที่ต่างกัน จะต้องแปลงให้เป็นชนิดเดียวกันก่อน แล้วจึงดําเนินการ โดยในการแปลงจะต้องแปลงชนิดข้อมูลที่มีขนาดเล็กกว่าให้เป็นชนิดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่กว่า
ดังนั้น ถ้าตัวแปร หรือ ตัวคงที่ ตัวหนึ่งเป็นชนิดจํานวนเต็ม (int) ส่วนอีกตัวหนึ่งเป็นชนิดจํานวนจริง(float) จะต้องแปลงตัวแปรหรือตัวคงที่ที่เป็นจํานวนเต็ม (int) ให้เป็นจํานวนจริง (float) ก่อน แล้วจึงดําเนินการ
🍭การแปลงชนิดข้อมูล (type cast)
ตัวแปร = (ชนิดข้อมูล) นิพจน์;
Ex:
•#include <stdio.h>
void main( )
{
int x;
x = 5.6 + 3.5;
printf(“\n %d”, x);
x = (int) 5.6 + (int) 3.5; // แปลง 5.6 ให้เป็น 5 และแปลง 3.5 ให้เป็น 3 printf(“\n %d”, x);
}