Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐานภาษาซี💻, image - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐานภาษาซี💻
ตัวคงที่
ตัวคงที่มีลักษณะคล้ายตัวแปร แตกต่างจากตัวแปรตรงที่ ค่าที่เก็บในตัวคงที่จะคงเดิมไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงจนกระทั่งจบโปรแกรม แต่ค่าที่เก็บในตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
การประกาศตัวคงที่ การประกาศตัวคงที่ทําได้ 2 วิธี ดังนี้ 1. ใช้คําหลัก const ตามรูปแบบดังนี้ 2. ใช้ตัวประมวลผลก่อน ตามรูปแบบดังนี้
ตัวแปร
กฎการตั้งชื่อตัวแปร
ประกอบด้วย a ถึง z, 0 ถึง 9 และ _ เท่านั้น
-
-
-
-
ชนิดข้อมูล (data types)
ข้อมูลที่ใช้ในโปรแกรมมีหลายชนิด ซึ่งนักเขียนโปรแกรมต้องเลือกใช้ตามความเหมาะสมกับการใช้งาน ข้อมูลมีขนาดที่แตกต่างกันไปตามชนิดข้อมูล นอกจากนี้แล้ว ชนิดข้อมูลยังอาจมีขนาดที่แตกต่างกันโดยขึ้นกับ เครื่องคอมพิวเตอร์และตัวแปลโปรแกรมที่ใช้ในการประมวลผล แต่โดยทั่วไปแล้วในไมโครคอมพิวเตอร์ ชนิด ข้อมูลมีการใช้ในโปรแกรม และขนาดดังนี้
-
การประกาศตัวแปร
-
2.ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร1, ชื่อตัวแปร2, ... ;
-
-
การแสดงผลและการับค่า
ฟังก์ชัน printf()
ฟังก์ชัน printf() เป็นฟังก์ชันจากคลัง ที่มาพร้อมกับตัวแปลโปรแกรมภาษาซี ใช้สําหรับการแสดงผล
มีรูปแบบ ดังนี้
-
ข้อความสั่งกำหนดค่า
ข้อความสั่งกําหนดค่า คือ ข้อความสั่งที่ใช้สําหรับ สั่งให้นําผลลัพธ์ของนิพจน์ที่อยู่ด้านขวาของตัว ดําเนินการเท่ากับ (=) มาเก็บไว้ในตัวแปรที่อยู่ด้านซ้ายของตัวดําเนินการเท่ากับ (=) เมื่อนํานิพจน์มาเขียนไว้ในโปรแกรมภาษาซีจะกลายเป็นข้อความกําหนดค่า
-
นิพจน์
ในภาษาซี นิพจน์ หมายถึง สิ่งที่ประมวลผลแล้วสามารถให้เป็นค่าตัวเลขได้ ซึ่งแต่ละนิพจน์จะมีระดับ ความยากง่ายในการประมวลผลที่แตกต่างกัน นิพจน์ที่มีระดับการประมวลผลแบบง่ายที่สุด จะประกอบด้วย ตัวแปรเพียงตัวเดียว หรือ ค่าคงที่
การคำนวณทางคณิตศาสตร์
-
-
-
หาร
ให้ค่าที่เก็บใน a เป็นตัวตั้ง ค่าที่เก็บใน b เป็น ตัวหาร แล้วเก็บผลหารไว้ใน c ถ้าทั้งตัวตั้งและตัวหารต่างเป็นจํานวนเต็ม ค่าที่เก็บใน c จะเป็นจํานวนเต็ม แต่ถ้าตัวตั้งหรือตัวหารตัวใดตัวหนึ่งเป็น จํานวนจริงที่มีทศนิยม ผลลัพธ์ที่ได้จะเป็น จํานวนจริงที่มีทศนิยมด้วย
-
ตัวดำเนินการเอกภาค
ตัวดําเนินการเอกภาค คือ การใช้ตัวดําเนินการกับตัวแปรตัวเดียว ในที่นี้จะแสดงการใช้ตัวดําเนินการ 2 ตัวกับตัวแปรตัวเดียว ซึ่งมีลักษณะการใช้ 2 แบบ คือ 1. ตัวดําเนินการเอกภาคเติมหลัง (postfix mode) หมายถึง ตัวดําเนินการเอกภาคอยู่หลังตัวแปร เช่น a++ หมายถึง ให้เพิ่มค่าให้ตัวแปร a ขึ้นอีก 1 2. ตัวดําเนินการเอกภาคเติมหน้า (prefix mode) หมายถึง ตัวดําเนินการเอกภาคอยู่หลังตัวแปร เช่น ++a หมายถึง ให้เพิ่มค่าให้ตัวแปร a ขึ้นอีก 1
ตัวดำเนินการประกอบ
ตัวดําเนินการประกอบ เป็นการใช้ตัวดําเนินการหนึ่งตัวร่วมกับเครื่องหมายเท่ากับ การใช้ตัว
ดําเนินการประกอบจะช่วยให้เขียนข้อความสั่งได้สั้น และเร็วขึ้น
การแปลงชนิข้อมูล
การแปลงชนิดข้อมูลมีหลายวิธี แต่ที่กล่าวในที่นี้คือ การแปลงชนิดข้อมูลโดยการกําหนดชนิด
ไว้ที่หน้าข้อมูลนั้น
-
-
-