Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
//บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี 💻// - Coggle Diagram
//บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี 💻//
🥟 ตัวดำเนินเอกภาค
🥡 ตัวดำเนินการเอกภาคเติมหลัง (postfix mode) - ตัวดำเนินการเอกภาคอยู่หลังตัวแปร Ex. a++ - ให้เพิ่มค่าให้ตัวแปร a ขึ้นอีก 1 จะทำงานอื่นในข้อความสั่งเดียวกันก่อน จึงจะเพิ่มค่าให้ตัวแปร
🍦 ตัวดำเนินการเอกภาคเติมหน้า (prefix mode) -ตัวดำเนินเอกภาคอยู่หน้าตัวแปร Ex. ++a - ให้เพิ่มค่าให้ตัวแปร a ขึ้นอีก 1 จะเพิ่มค่าให้ตัวแปรก่อนแล้วจึงจะทำงานอื่น ภายในข้อความสั่งเดียวกัน
🥠 การใช้ตัวดำเนินการกับตัวแปรเดียว ในที่นี้จะแสดงการใช้ตัวดำเนินการ 2 ตัวกับตัวแปรตัวเดียว
🥐โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
🥞 ฟังก์ชันหลัก (main function) มีเพียงฟังก์ชันเดียว
🍖 ฟังก์ชัน(functions)มีได้หลายฟังก์ชัน
🧀 ต้นแบบฟังก์ชัน (funxtion prototypes)
🍗 ข้อความประกาศตัวแปรเฉพาะที่ (local declaration statement)
🥨 ข้อความสั่งประกาศครอบคลุม (global declaration statements)
🥩 หมายเหตุ(comment) สามารถแทรกไว้ที่ใดก็ได้ภายในโปรแกรม
🥯 รหัสต้นฉบับ (source code)
🥖 ข้อความสั่งตัวประมวลผลก่อน (preprocessor statements)
🍻 การแสดงผลและการรับค่า
🧊 %c , %d , %f , %o , %x
🧇 scanf("%รูปแบบ" , &ตัวแปร);
🧄 รูปแบบการแสดงผล
🧆 printf("สายอักขระควบคุม" , ตัวแปร);
🥂 ลำดับหลีก
🍽️ \b ถอยไปหนึ่งที่ว่าง (backspace)
🍴 \f ขึ้นหน้าใหม่ (form feed)
🥢 \a เสียงกระดิ่ง (bell)
🥄 \ แสดงเครื่องหมายทับกลับหลัง (backslash)
🥤 \t เลื่อนไปยังจุดตั้งระยะ (tab) ถัดไป
🧃 \' แสดงเครื่องหมายฝนทอง (single quote)
🥃 \n การขึ้นบันทัดใหม่ (new line)
🧈 \'' แสดงเครื่้องหมายฝันหนู (double quote)
🥓 ตัวแปร
🍟 ชนิดข้อมูล
🥘 int เก็บจำนวนเต็ม
🍲 float เก็บจำนวนจริง
🍳 char เก็บอักษร
🥣 double เก็บสองเท่าของจำนวนจริง
🍕 การประกาศตัวแปร
🥗 1.ตัวแปร - ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร ; Ex. int count;
🍿 2.ตัวแปร ชนิดเดียวกัน - ชนิดข้อมูล ตัวแปร1 , ตัวแปล2; Ex. int m, n;
🍔 กฎการตั้งชื่อตัวแปร
🌮 ห้ามใช้ชื่อเฉพาะ
🌯 ตัวพิมพ์ใหญ่ ตัวพิมพ์เล็ก มีความหมายที่แตกต่างกัน
🥪 อักขระตัวแรกต้องเป็น a ถึง z และ _
🌭 ประกอบด้วย a ถึง z, 0 ถึง 9 และ _ เท่านั้น
🥙 ยาวสูงสุด 31 ตัวอักษร
🥫 ตัวคงที่
🧂 ความหมาย
🍘 ตัวคงที่ที่มีลักษณะคล้ายตัวแปร แตกต่างจากตัวแปรตรงที่ ค่าที่เก็บในตัว คงที่จะคงเดิมไม่มีการเปลี่ยนแปลงจนกระทั่งจบโปรแกรม แต่ค่าที่เก็บในตัวแปรสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา
🍱 การประกาศตัวคงที่
🍙 แบบที่ 1 - const ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร = ค่า;
🍚 แบบที่ 2 - #define ชื่อตัวคงที่ ค่าคงที่
🍛 การคำนวณทางคณิตศาสตร์
🍢 คูณ () Ex. c = a b
🍣 หาร (/) Ex. c = a / b
🍠 ลบ (-) Ex. c = a - b
🍤 มอดูลัส (%) Ex. c = a % b (มอดูลัสคือการหารเอาเศษ)
Abdoul
🍝 บวก (+) Ex. c = a + b
🍜 ลำดับการดำเนินการ
🥮 2. * /
🍡 3. + -
🍥 1.()
🍧 การกำหนดค่าจากข้อมูลหลสยชนิด
🍩 ถ้าตัวแปร หรือ ตัวคงที่ มีชนิดข้อมูลที่ต่างกัน จะต้องแปลงให้เป็นชนิดเดียวกันก่อน แล้วจึงดําเนินการ โดยในการแปลงจะต้องแปลงชนิดข้อมูลที่มีขนาดเล็กกว่าให้เป็นชนิดข้อมูลที่มีขนาดใหญ่กว่า
🍪 ดังนั้น ถ้าตัวแปร หรือ ตัวคงที่ ตัวหนึ่งเป็นชนิดจํานวนเต็ม (int) ส่วนอีกตัวหนึ่งเป็นชนิดจํานวนจริง(float) จะต้องแปลงตัวแปรหรือตัวคงที่ที่เป็นจํานวนเต็ม (int) ให้เป็นจํานวนจริง (float) ก่อน แล้วจึงดําเนินการ
🍨 ถ้านิพจน์ในข้อความสั่งกําหนดค่าประกอบด้วย ตัวแปร หรือ ตัวคงที่ที่มีชนิดข้อมูลต่างกัน จะต้องแปลงให้เป็นชนิดเดียวกันก่อน แล้วจึงนํามาดําเนินการ โดยมีหลักดังนี้ คือ
🎂 การแปลงชนิดข้อมูล
🍰 ตัวแปร = (ชนิดข้อมูล) นิพจน์;
🧁 Ex. x = (int) 5.6; = 5
🥧 ตัวดำเนินการประกอบ
🍬 เป็นการใช้ตัวดำเนินการหนึ่งตัวร่วมกับเครื่องหมายเท่ากับ การใช้ตัวดำเนินการประกอบจะช่วยเขียนข้อความสั่งได้สั้น และเร็วขึ้น
🍭 Ex. x+ = 5; มีค่า x = x + 5;
🍫 ลำดับการดำเนินการ
🍯 2. ++ --
🍼 3. * / %
🥛 4. . + -
+= -= *= /= %=
🍮 1. ()
🍵 ข้อความสั่งกำหนดค่า
🍶 ตัวแปร = นิพจน์;
🍾 ข้อความสั่งที่ใช้สำหรับ สั่งให้ผลลัพะ์ของนิพจน์ที่อยู่ด้านขวาของตัวดำเนินการ = (=) มาเก็บตัวแปรที่ซ้ายของตัวดำเนินการ = (=)
🍷 นิพจน์
🍹 นิพจน์ที่มีระดับการประมวนผลที่ง่ายที่สุด จะประกอบด้วยตัวแปร เพียงตัวเดียว หรือ ค่าคงที่
🍺 สำหรับนิพจน์ที่ระดับการประมวนผลที่ซับซ้อน จะประกอบด้วยนิพจน์ที่มีระดับการประมวลผลอย่างง่ายหลายนิพจน์และเชื่อมต่อกันด้วยัวดำเนินการ
🍸 สิ่งที่ประมวลผลแล้วสามารถให้ค่าเป็นตัวเลขได้