Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปอดอักเสบ (pneumonia) - Coggle Diagram
ปอดอักเสบ (pneumonia)
-
การวินิจฉัยโรคปอดอักเสบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
WBC 18,300 (5,000-10,000)
-
ย้อมเสมหะ พบSputum Gram stain bacteria gram positive diplococcal 4+, WBC 5-10
การถ่ายภาพเอกซเรย์ปอด
พบ localized infiltration /diffuse/extensive nodular infiltrates, lung atelectasis at right middle lobe and right lower lobe
-
-
-
ชนิดของปอดอักเสบ
- Lobar pneumonia มีการอักเสบของ ปอดทั้งหมดหรือเฉพาะปอดบางกลีบ
- Lobular pneumonia มีการอักเสบเริ่มที่หลอดลม ฝอย (Bronchilole) ซึ่งทำให้มีการอุดกั้นของน้ำเมือกปนหนอง
- Interstitial pneumonia มีการอักเสบ ของผนังถุงลม (Interstitium) และมีการกระจาย การอักเสบไปที่หลอดลมฝอย (Broncholitis) รอบๆ หลอดลม .
ความหมาย
โรคที่เกิดจากการอักเสบของเนื้อปอดบริเวณ หลอดลมฝอยส่วนปลาย (terminal และ respiratory bronchiole) ถุงลม (alveoli) และ เนื้อเยื่อรอบถุงลม (interstitium) ซึ่งมีสาเหตุจาก การติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อไวรัส และเชื้อรา ส่วนใหญ่ มักเกิดจากเชื้อแบคทีเรียอ
พยาธิสรีรวิทยา
แบ่งออกเป็น 3 ระยะคือ
- ระยะเนื้อปอดแข็ง (stage of consolidation) ระยะแรกจะพบว่า มีเม็ดเลือดแดงและไฟบริน อยู่ใน ถุงลมเป็นส่วนใหญ่ หลอดเลือดฝอยท่อผนังถุงลม ปอดขยายตัวมากขึ้นทำให้เนื้อปอดเป็นสีแดง จัด คล้ายตับสด
- ระยะปอดฟื้นตัว (stage of resolution) เมื่อ ร่างกายสามารถต้านทานโรคไว้ได้เม็ดเลือดขาว สามารถทำลายแบคทีเรียที่อยู่ในถุงลมปอดได้หมด กลับคืนสู่สภาพปกติได้การอักเสบที่เยื่อหุ้มปอด จะ หายไปหรือมีพังพืดขึ้นแทน
- ระยะบวมคั่ง (stage of congestion or edema) เมื่อเชื้อโรคเข้าสู่ปอดจะแบ่งตัวอย่าง รวดเร็ว ร่างกายจะมีปฏิกิริยาตอบสนอง มีเลือดมาคั่ง ในบริเวณที่มีการอักเสบ หลอดเลือดขยายตัวมีเม็ด เลือดแดง ไฟบริน และเม็ดเลือดขาวชนิดนิวโตรฟิล ออกมากินแบคทีเรีย