Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการไข้ไอ หายใจลำบาก - Coggle Diagram
กลุ่มอาการไข้ไอ หายใจลำบาก
หอบ (Asthma)
การตรวจร่างกายระบบทางเดินหายใจ
คลำ : ตำแหน่งของหลอดลม การเคลื่อนไหวของปอด คลำ tactile fremitus ดู
ดู : รูปร่างทรวงอก ( Shape ) ขนาดของทรวงอก ( Size ) การเคลื่อนไหวของทรวงอกแต่ละข้าง ( movement)
ฟัง : ฟังเสียงหายใจ ฟังเสียงผิดปกติ
เคาะ : เสียงทึบ ( Flatness, Dullness ) เสียงโปร่ง ( Resonance )
อาการและอาการแสดงปัญหาระบบทางเดินหายใจ
Abnormal lung sound
Dyspnea หายใจล าบาก เหนื่อย
หอบ นอนราบไม่ได้
Sore throat
Fever
อาการหวัด คัดจมูก น้ำมูกไหล
มีตั้งแต่อาการและอาการแสดงที่ไม่รุนแรงหรือเร่งด่วนจนกระทั่งถึงภาวะที่ฉุกเฉินและรุนแรงถึงชีวิต
Cyanosis
การซักประวัติ
อาการส าคัญ ( CC ) : อาการ+ระยะเวลา
ประวัติครอบครัว เช่น โรคภูมิแพ้ โรคระบบทางเดินหายใจ
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต โดยเฉพาะประวัติที่เกี่ยวกับโรคระบบทางเดินหายใจ โรคปอด โรคหัวใจ
ประวัติการสูบบุหรี่ หรือมีคนใกล้ชิดสูบบุหรี่
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน( PI )
ประวัติการท างานที่เสี่ยงต่อการเกิด Occupational lung disease
ประวัติเสี่ยงต่อการเกิด Deep vein thrombosis เช่น immobilization มะเร็ง
อาการหอบ : นอกจากความถี่ของการหายใจต้องสังเกตสิ่งต่อไปนี้ร่วมด้วย
เหงื่อออกมาก ( Sweating )
ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง ( Accessory muscle )
Conscious change
สีผิวโดยเฉพาะริมฝีปาก ( Cyanosis )
นอนราบไม่ได้ ( Chest discomfort)
อาการไอ เป็นปฎิกิริยาหนึ่งที่ร่างกาย ขับสิ่งแปลกปลอมออก มักเกิดร่วมกับโรคหรือภาวะต่าง
สาเหตุ
การติดเชื้อ
การคั่งค้างของเสมหะ
อากาศร้อนจัดหรือเย็นจัด
การสูดดมสารเคมี
ลักษณะของอาการไอ
ไอคล้ายเสี่ยงเห่า (Barkilg cough) เกิดจากกล่องเสียงอักเสบ จะมีอาการ
ไอแบบแห้งๆ เสียงก้อง
ไอกรน (Whooping cough) หลังจากไอเป็นชุด จะมีเสียง “วู๊บ” จาก
การหายใจเข้าเร็ว และเต็มที่ พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ
ไอแบบมีเสียงหยาบ (Harsh) พบในผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ จากหลอดลม
แห้ง เจ็บ อาจมีเสมหะ ซึ่งมีลักษณะใส หรือขาวข้น ปนหนอง
การติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
(Upper RespiratoryTract
Infection: URI) ที่พบบ่อย
โรคหวัด ( Common cold )
Tonsillitis
Bronchiolitis:
ไซนัสอักเสบ ( Sinusitis )
Influenza
Acute bronchitis:
ภาวะไข้
คือการที่อุณหภูมิของร่างกายสูงเกินปกติ
อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงตามสภาพแวดล้อม
อุณหภูมิขึ้นอยู่กับการเคลื่อนไหว ของกล้ามเนื้อหรือการออกก าลังกาย
และฮอโมนในร่างกาย
ร่างกายคนปกติ จะมีอุณหภูมิ คือ 35.5 – 37.4 C (เมื่อวัดทางปาก)
ระดับของไข้
ไข้ปานกลาง (Moderate fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 38.5 – 39.4 C
ไข้สูง (High fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 39.5 – 40.5 C
ไข้ต่ำ (Low fever) มีอุณหภูมิระหว่าง 37.5 – 38.4 C
ไข้สูงมาก (Hyperpyrexia) มีอุณหภูมิตั้งแต่ 40.5 C. ขึ้นไป
กลไกการเกิดไข้ของร่างกาย
กลไกมาจากแบคทีเรียที่ผลิตท็อกซินหรือเนื้อเยื่อที่ถูกทำลายปล่อยสาร ไพโรเจน (Pyrogen) ออกมาสารตัวนี้จะไปกระตุ้นให้เม็ดเลือดขาวปล่อย
สารก่อไข้ คือ เอนโดจีนัส ไพโรเจน (Endogenous pyrogen)ซึ่งจะไป
กระตุ้นศูนย์ควบคุมอุณหภูมิคือ ไฮโปทาลามัสให้ท างานมากขึ้นท าให้
อุณหภูมิของร่างกายสูงขึ้น
สาเหตุของการเกิดไข้
การบาดเจ็บของประสาทส่วนกลาง ที่กระทบต่อ Set point โดยตรง เช่น เนื้องอกใน
สมอง เส้นเลือดสมองแตก
การติดเชื้อโรคต่างๆ ประมาณ 91% มักมีไข้ทั้งหมด
การได้รับบาดเจ็บ ของร่างกายปรือหลังผ่าตัด 1-2 วันแรก
โรคมะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ความผิดปกติของระบบเลือด
โรคเกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกันต่างๆ
การวินิจฉัยแยกโรคกลุ่มอาการ ไข้ ไอ หอบ
•หายใจลําบากหอบเหนื่อยเสียงหายใจออกยาวอาการดีขึ้นเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• ตรวจร่างกายตอนไม่มีอาการหอบจะไม่พบความผิดปกติ
• ช่วงที่มีอาการหอบจะฟังปอดได้ยินเสียงwheezing หรือRhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
Asthma
/Status asmaticus
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• แนะนําหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยและการใช้ยา
• ให้ยาขยายหลอดลม Salbutamolผ่าน nebulizer ต่อกับ O2 หรือพ่นยาขยายหลอดลม DPI /MDI
• ส่งต่อทันทีถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลังพ่นยา 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที
• เหนื่อยหอบ นอนราบ ไม่ได้
• ไอมีเสมหะปนเลือด
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitationชายปอดด้านล่าง
• อาจพบ cyanosis
Acute pulmonary edema
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• ประเมิน ABCs และ V/S
• ให้พักผ่อน(Rest)ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask c bag ตามค่า O2 Saturation• ส่งต่อทันที
• หอบเหนื่อยง่ายเวลาออกแรง ในระยะรุนแรงหอบเหนื่อยจนทํางานไม่ได้มีอาการหอบกําเริบเป็นๆหายๆ
• ไอเรื้อรังมีเสมหะสีขาว
• ประวัติสูบบุหรี่• พบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• หอบ หายใจลําบากจนต้องห่อปากเวลาหายใจออก ใช้Accessory muscleในการหายใจ
• ลักษณะทรวงอกเปลี่ยนแปลงเป็นbarrel shape• เคาะปอดเสียงhyperresonance
• ฟังเสียงปอดได้เสียงwheezing
COPD
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• แนะนําหยุดสูบบุหรี่/หลีกเลี่ยงมลพิษทางอากาศ ดื่มน้ำอุ่นมากๆ
มีอาการหอบบรรเทาด้วยยาขยายหลอดลมชนิดสุดพ่น/รับประทานตามคําสั่งการรักษาของแพทย์
• ในรายที่เป็นรุนแรงจําเป็นต้องใช้ยากcorticosteroid สุดพ่นคล้ายผู้ป่วยหอบหืด
• ส่งต่อทันทีถ้าอาการหอบไม่ดีขึ้นใน 4-6 ชั่วโมง
• มีไข้เสมหะมีหนองให้ยาปฏิชีวนะ
•เหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้•หอบเหนื่อยเป็นช่วงๆโดยเฉพาะกลางคืน•มีไอเป็นพักๆ•มีประวัติ HT /โรคหัวใจ/เบาหวาน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• นอนราบไม่ได้
• พบneck vein engorgement
• พบ pitting edemaหน้าแข้ง ข้อเท้า
• ชีพจรเบาเร็วไม่สม่ำเสมอ
• ฟังปอดได้ยินเสียงfine crepitation
Congestive Heart failure
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• ประเมิน ABCs และ V/S
• ให้พักผ่อน(Rest)ห้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
• ให้น้ำเกลือให้ยาขับปัสสาวะ/ACEI • ส่งต่อทันที
หายใจลำบาก
• หายใจหอบลึก
•มีอาการหลังภาวะเครียด/มีเรื่องขัดใจ
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• หายใจหอบลึก• มือจีบเกร็งทั้งสองข้าง
Hyperventilation
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• หายใจในกรวยกระดาษหรือถุงพลาสติก
• แนะนําให้หายใจเข้าออกช้า ๆไม่ควรให้ออกซิเจนส่งต่อถ้าไม่ดีขึ้นภายใน 30 นาที
•หายใจลําบากหอบเหนื่อยเสียงหายใจออกยาวอาการดีขึ้นเมื่อได้รับยาขยายหลอดลม
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• ตรวจร่างกายตอนไม่มีอาการหอบจะไม่พบความผิดปกติ
• ช่วงที่มีอาการหอบจะฟังปอดได้ยินเสียงwheezing หรือRhonchi จากปอดทั้งสองข้าง
Asthma
/Status asmaticus
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• แนะนําหลีกเลี่ยงสิ่งกระตุ้น
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคและการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยและการใช้ยา
• ให้ยาขยายหลอดลม Salbutamolผ่าน nebulizer ต่อกับ O2 หรือพ่นยาขยายหลอดลม DPI /MDI
• ส่งต่อทันทีถ้าอาการไม่ดีขึ้นหลังพ่นยา 2 ครั้งห่างกัน 15 นาที
• เหนื่อยหอบ นอนราบ ไม่ได้
• ไอมีเสมหะปนเลือด
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• ฟังปอดได้ยินเสียง fine crepitationชายปอดด้านล่าง
• อาจพบ cyanosis
Acute pulmonary edema
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• ประเมิน ABCs และ V/S
• ให้พักผ่อน(Rest)ให้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask c bag ตามค่า O2 Saturation• ส่งต่อทันที
•เหนื่อยหอบนอนราบไม่ได้•หอบเหนื่อยเป็นช่วงๆโดยเฉพาะกลางคืน•มีไอเป็นพักๆ•มีประวัติ HT /โรคหัวใจ/เบาหวาน
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• นอนราบไม่ได้
• พบneck vein engorgement
• พบ pitting edemaหน้าแข้ง ข้อเท้า
• ชีพจรเบาเร็วไม่สม่ำเสมอ
• ฟังปอดได้ยินเสียงfine crepitation
Congestive Heart failure
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• ประเมิน ABCs และ V/S
• ให้พักผ่อน(Rest)ห้ออกซิเจน cannula 3.5 LPM /Mask c bag ตามค่า O2 Saturation
• ให้น้ำเกลือให้ยาขับปัสสาวะ/ACEI • ส่งต่อทันที
• หอบเหนื่อยง่ายเวลาออกแรง ในระยะรุนแรงหอบเหนื่อยจนทํางานไม่ได้มีอาการหอบกําเริบเป็นๆหายๆ
• ไอเรื้อรังมีเสมหะสีขาว
• ประวัติสูบบุหรี่• พบในวัยกลางคนหรือผู้สูงอายุ
การตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
• หอบ หายใจลําบากจนต้องห่อปากเวลาหายใจออก ใช้Accessory muscleในการหายใจ
• ลักษณะทรวงอกเปลี่ยนแปลงเป็นbarrel shape• เคาะปอดเสียงhyperresonance
• ฟังเสียงปอดได้เสียงwheezing
COPD
รักษาพยาบาลเบื้องต้น
• แนะนําหยุดสูบบุหรี่/หลีกเลี่ยงมลพิษทางอากาศ ดื่มน้ำอุ่นมากๆ
มีอาการหอบบรรเทาด้วยยาขยายหลอดลมชนิดสุดพ่น/รับประทานตามคําสั่งการรักษาของแพทย์
• ในรายที่เป็นรุนแรงจําเป็นต้องใช้ยากcorticosteroid สุดพ่นคล้ายผู้ป่วยหอบหืด
• ส่งต่อทันทีถ้าอาการหอบไม่ดีขึ้นใน 4-6 ชั่วโมง
• มีไข้เสมหะมีหนองให้ยาปฏิชีวนะ