บทที่ 4 ส่วนโครงสร้างรับแรงดัด

ความต้านทานต่อแรงดัด

ความต้านทานต่อแรงเฉือน

การโกงหรือแอ่นตัวในแนวดิ่ง

การออกแบบคานประกอบ

Screenshot 2022-07-07 163649

ความต้านทานต่อแรงกด

fh = VQ / lb โดยที่ Q เป็นโมเมนต์รอบแกน
สะเทินของเนื้อที่จากขอบหน้าตัดถึงแนว
ที่ต้องการหา
Screenshot 2022-07-07 170303

Screenshot 2022-07-07 170359

กรณีที่พื้นที่รับแรงกดมีค่าน้อยกว่า 15 ซม. และอยู่ห่าง
จากปลายคานมากกว่า 7.5 ซม. ให้เพิ่มค่าหน่วยแรงกด
ที่ยอมให้ด้วยตัวคูณประกอบ หน่วยแรงกดที่ยอมให้
= Screenshot 2022-07-07 171224

กรณีแรงกดทำมุมกับเสี้ยน Screenshot 2022-07-07 171358

กรณีทั่วไป Screenshot 2022-07-07 170703

สำรับคานสะพานทางหลวง
Screenshot 2022-07-07 171804

สำหรับคานทั่วไป
Screenshot 2022-07-07 171747

สำหรับคานสะพานรถไฟ
Screenshot 2022-07-07 171812

การป้องกันการโก่งทางข้าง

การคำยันแบบต่างๆ

การลดหน่วยแรงดัดที่ยอมให้

h/b = 5 ต้องยึดปลายคานและทำการยึดคานเหนือ
แกนสะเทินตลอดความยาวคาน

h/b = 6 ทำเช่นเดียวกับกรณี h/b = 5 และต้องยึดส่นที่อยู่เหนือแกนสะเทิน เป็นช่วง ช่วงละไม่เกิน 2.5 ม.

h/b = 4 ต้องยึดปลายคานและยึดเป็นระยะๆกับตงไม้

h/b = 7 ต้องยึดปลายคานและทำการยึดคานเหนือ
และใต้แกนสะเทินตลอดความยาวคาน

h/b = 3 ต้องยึดปลายคาน

h/b น้อยก่วา 2 ไม่ต้องทำค้ำยัน

คานปานกลาง Screenshot 2022-07-07 173722

คานยาว Screenshot 2022-07-07 173737

คานสั้น Screenshot 2022-07-07 173711

การเจาะ บากหรือหยักคาน

โมเมนต์บิด

การบากคาน

บากปลายด้านมี่รับแรงอัดเป็นรูปสี่เหลี่ยม
Screenshot 2022-07-07 174642
แต่เมื่อ e มีค่ามากกว่า h' ให้พิจารณาความลึกที่ h'
Screenshot 2022-07-07 174823

บากปลายคานเป็นรูปเฉียง ให้ใช้สูตรเช่น
เดียวกับกรณีที่ 2 ซึ่ง h' ไม่ควรน้อยกว่า 60%

บากปลายด้านที่รับแรงดึงเป็นรูปสี่เหลี่ยม
Screenshot 2022-07-07 174418
เมื่อ Screenshot 2022-07-07 174442

คานที่ใช้ตัวยึดเป็นที่รองรับ

เมื่อรอยอยู่ห่างจากปลายไม้ไม่เกิน 5 เท่าของความลึก
Screenshot 2022-07-07 175426

เมื่อรอยอยู่ห่างจากปลายไม้กิน 5 เท่าของความลึก

พิจารณาตรงรอยต่อ Screenshot 2022-07-07 175442

พิจารณาที่หน้าตัด Screenshot 2022-07-07 175451

หน่วยแรงดัดที่เกิดขึ้นสูงสุดที่หลัง
และท้องคาน (เมื่อระยะ c = h/2)
Screenshot 2022-07-07 163348
ซึ่งการออกแบบแรงดัดสูงสุดต้องไม่เกินค่า
แรงดัดที่ยอมให้ นั้นคือ
Screenshot 2022-07-07 163533

หน่วยแรงดัดที่ยอมให้ = Cd x Cf x Fb

ผลกระทบของรูปร่างหน้าตัด พบว่าคานไม้
ที่มีรูปตัดวงกลม รูปตัดสี้เหลี่ยมจตุรัสที่วางให้เส้น
ทะแยงมุมอยู่ในแนวดิ่ง รวมถึงรูปตัดตัวไอ
หรือ รูปตัดสี่เหลียมกลวง มีผลต่อกำลังต้านทาน
แรงดัด ตามค่าตัวคูณประกอบรูปตัด Cf

รูปตัดคานวงกลม Cf = 1.18

รูปตัดตัวไอ หรือ รูปตัดสี่เหลียมกลวง
Screenshot 2022-07-07 165257
เมื่อ Screenshot 2022-07-07 165404
p = อัตราส่วนระหว่างความหนาของปีกที่รับแรงอัดต่อความลึกทั้งหมดของคาน
q = อัตราส่วนความหนาของแผ่นตั้งหนึ่งแผ่นหรือหลายแผ่นรวมกัน ต่อความกว้างทั้งหมดของคาน

รูปตัดสี้เหลี่ยมจตุรัสที่วางให้เส้น
ทะแยงมุมอยู่ในแนวดิ่ง Cf = 1.414

ผลกระทบของความลึก พบว่าเมมื่อไม้หนาเกิดน 30 ซม.
ค่าของมูดูลัสความแตกหักจะลดลง ซึ่งทำให้กำลังต้านทางแรงดัด
ที่ยอมให้มีค่าลดลง ดังนั้นจึงจ้องมีการปรับแก้สำหรับความลึก
Screenshot 2022-07-07 164242
โดยที่ h เป็นความลึกของคาน หน่วยเป็น ซม.

หน่วยแรงดัดในไม้ = หน่วยแรงดัดในเหล็ก x อัตราส่วนโมดูลัส

ft <= Fh ( สำหรับคานไม้ธรรมดา )

คานรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ft = Screenshot 2022-07-07 180439

ft <= Fh/3 ( สำหรับคาน Glulum)

คานรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส ft = Screenshot 2022-07-07 180447

Screenshot 2022-07-07 180524

Screenshot 2022-07-07 180536