Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท - Coggle Diagram
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ไขสันหลัง
เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณอก (thoracic spinal nerves)
12 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหวและรับความรู้สึกบริเวณอก ลำตัว และคอ
เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณเอว (lumbar spinal nerves)
5 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหวและรับความรู้สึกบริเวณขา กระเพาะอาหาร และอวัยวะสืบพันธุ์
เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณคอ (cervical spinal nerves)
8 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหวและการรับความรู้สึกบริเวณคอ แขน และอกท่อนบน
เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral spinal nerves)
5 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหวและรับความรู้สึกบริเวณขา กระเพาะอาหาร และอวัยวะสืบพันธุ์
โครงสร้างที่ต่อมาจากสมอง ทำหน้าที่ นำความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก สั่งการหน่วยปฏิบัติงาน และเป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างหน่วยรับความรู้สึกกับสมอง และสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
เส้นประสาทไขสันหลังบริเวณก้นกบ (coccygeal spinal nerves)
1 คู่ ควบคุมการเคลื่อนไหวและรับความรู้สึกบริเวณลำไส้ตรง และทวารหนัก
-
สมอง
-
3ส่วน
สมองส่วนกลาง (midbrain)
ออพติกโลบ (optic lobe)
- ควบคุมการเคลื่อนไหวของลูกตา การเปิดและปิดของรูม่านตาเมื่อรับแสง
- เป็นสมองที่มีการพัฒนาน้อย
สมองส่วนหลัง (hindbrain)
พอนส์ (pons)
- ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้ำลาย การเคลื่อนไหวของใบหน้า การหายใจ
- เป็นทางผ่านของกระแสประสาทระหว่างเซรีบรัมกับเซรีเบลลัม และ ระหว่างเซนีเบลลัมกับไขสันหลัง
เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata)
- ควบคุมการทำงานระบบประสาทอัตโนวัติ เช่น การเต้นของหัวใจ
การหายใจ ความดันเลือด การจาม สะอึก อาเจียน และ การกลืน
เซรีเบลลัม (cerebellum)
- ควบคุมการเคลื่อนไหวและการทรงตัวของร่างกาย
สมองส่วนหน้า (forebrain)
ไฮโพทาลามัส (hypothalamus)
- ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย การเต้นของหัวใจ ความดันเลือด
- ควบคุมการต้องการพื้นฐาน เช่น น้ำ อาหาร ความต้องการทางเพศ
- สร้างฮอร์โมนประสาทควบคุมการหลั่งฮอร์โมนของต่อมใต้สมองส่วนหน้า
เซรีบรัม (cerebrum)
- ควบคุมความคิด ความจำ สติปัญญา
- ควบคุมการทำงานต่างๆ เช่น การทำงานของกล้ามเนื้อ
- เป็นสมองที่มีการพัฒนามาก
-
ทาลามัส (thalamus)
- ศูนย์รวบรวมกระแสประสาทเข้าและออก
- แยกกระแสประสาทส่งไปยังสมองส่วนที่สัมพันธ์กับกระแสประสาทนั้นๆ
ออลแฟกทอรีบัลบ์ (olfactory bulb)
- ควบคุมการดมกลิ่น (ในมนุษย์ไม่เจริญมากนักแต่ในปลาจะมีขนาดใหญ่)
สัตว์แต่ละชนิดมีพัฒนาการสมองแตกต่างกัน สัตว์ที่มีรอยหยักบนสมองมาก แสดงถึงความสามารถในการเรียนรู้ที่สูง
โดยสมองของมนุษย์นับว่ามีพัฒนาการสูงที่สุดเมื่อเทียบกับสัตว์อื่นๆ
-
สมองและไขสันหลังมีเยื่อหุ้มชนิดเดียวกันเชื่อมต่อกันเรียกว่า เยื่อหุ้มสมอง (meninges) แบ่งเป็น 3 ชั้น
-
เยื่อหุ้มสมองชั้นใน (pia mater) แนบติดไปกับรอยโค้งเว้าของสมองและไขสันหลัง มีหลอดเลือดมาหล่อเลี้ยงจำนวนมาก
-
-
การทำงานของเส้นประสาทสมองและเส้นประสาทไขสันหลังจัดอยู่ในระบบประสาทรอบนอก
(peripheral nervous system; PNS)
-