Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Dx.Acute Cholangitis ท่อน้ำดี, การเกิดโรค acute cholangitis…
Dx.Acute Cholangitis
-
อาการและอาการแสดง
-
ตามทฤษฎี
1.ปวดท้องใต้ชายโครงขวา หรือ ใต้ลิ้นปี่ (Right upper quadrant abdominal pain)
2.ดีซ่าน (Jaundice)
3.มีไข้สูงมากกว่า 38 องศาเซลเซียสและหนาวสั่น (Shaking chills)
4.คลื่นไส้อาเจียน ปัสสาวะสีเข้ม
อุจจาระมีสีซีด
-
การรักษา
-
-
1.การรักษาประคับประตามอาการ เช่น การให้งดน้ำงดอาหารเพื่อให้ถุงน้ำดีได้พักในระยะที่มีอาการปวดมาก การให้ยาแก้ปวด ยาลดไข้ ยาบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำเมื่อผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อย
4.การรักษาโดยใช้วิธีการส่องกล้องตรวจรักษาท่อทางเดินน้ำดีและตับอ่อน (Endoscopic retrograde cholangiopancreatography - ERCP)
ผู้ป่วยใช้การรักษา คือเป็นการใช้กล้องส่องเข้าไปทางปาก ผ่านหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้นจนถึงท่อเปิดของน้ำดีในลำไส้เล็กแล้วฉีดสารทึบแสงและถ่ายภาพเอกซเรย์ไว้ เพื่อ ตรวจ หาความผิดปกติของท่อทางเดินน้ำดีและตับอ่อน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
ปัญหาที่ 3 มีโอกาสเกิดการติดเชื้อของท่อน้ำดีและตับอ่อน เนื่องจากเนื้อเยื่อทางเดินอาหารถูกทำลายระหว่างการส่องกล้องตรวจ
วัตถุประสงค์
ปลอดภัยจากการติดเชื้อ
เกณฑ์การประเมิน
-สัญญาณชีพปกติ อุณหภูมิร่างกาย 36.5-37.4 องศาเซลเซียส ชีพจร 60-80 ครั้งต่อนาที ความดันโลหิตอยู่ในช่วง 120/80 มิลลิเมตรปรอท
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินอาการผิดปกติของผู้ป่วยที่ท้อง เช่น อาการปวดในช่องท้อง กดเจ็บ ท้องแข็งตึง เป็นต้น
2.วัดอุณหภูมิทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลบันทึกสัญญาณชีพทุก 8 ชั่วโมง หากสัญญาณชีพผิดปกติ ให้รายงานแพทย์ทันที
3.ให้ข้อมูล อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าหลังการส่องกล้องตรวจรักษาท่อน้ำดีและตับอ่อน
(ERCP) อาจพบภาวะการติดเชื้อในท่อน้ำดีหรือตับอ่อนอักเสบได้ส่วนใหญ่จะมีอาการเพียงเล็กน้อย
4.สังเกตการลดลงของอาการตัวเหลือง ตาเหลือง หรือไม่
5.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา ประเมินอาการข้างเคียงของยา
6.ติดตามผลตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการ
-
ปัญหาที่ 2 เสี่ยงต่อภาวะแรกซ้อน ท้องอืดและปวดแน่นท้องจากการใส่ลมในท้องระหว่างการตรวจรักษาท่อน้ำดีและตับอ่อน (ERCP)
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบ่นปวดแน่นท้อง ยังไม่อยากลุกนั่ง pain score เท่ากับ 9 คะแนน (10/07/65)
OD : ผู้ป่วยแสดงสีหน้านิ่วคิ้วขมวด หน้าท้องโต แข็งตึง เคาะท้องได้ยินเสียงโปร่ง (tympanysound) ทั่วท้อง - เสียงการทำงานของลำไส้ (bowel sound) = 4 - 5 ครั้งต่อนาที (วันที่ 11 กรกฎาคม 2565) เวลา 11.45 น. -หายใจเบาตื้น 20 ครั้งต่อนาที
-
เกณฑ์การประเมิน
- แน่นอึดอัดท้องน้อยลง ระดับความปวด (pain score) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 คะแนน - มีหน้าท้องยุบลง เคาะท้องได้ยินเสียงโปร่งเฉพาะบริเวณกระเพาะอาหาร
-หายใจปกติไม่หอบเหนื่อย
- ฟัง bowel sound ปกติ 6-10 ครั้งต่อนาที
- สามารถเรอหรือผายลมได้
เกณฑ์การประเมิน
- ประเมินความปวดแน่นท้อง โดยใช้แบบประเมินความปวดแบบตัวเลข (numeric rating
scale) ซึ่งมี 0–10 คะแนน โดย0 คะแนนหมายถึงไม่มีความปวดและ 10 คะแนน หมายถึงมีความปวดมากที่สุด ร่วมกับการสังเกตความปวดจากสีหน้าและท่าทางของผู้ป่วย
- ประเมินความรุนแรงของอาการท้องอืดโดยการสังเกต การตรวจร่างกายและฟังเสียง bowel sound
- อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติทราบสาเหตุของอาการท้องอืดและปวดแน่นท้องซึ่งเกิดจากลมที่แพทย์ใส่เข้าไปขณะส่องกล้องและอาการจะหายไปได้เองเมื่อผู้ป่วยเรอหรือผายลม
- อธิบายให้ผู้ป่วยเห็นประโยชน์ของการเคลื่อนไหวร่างกายและกระตุ้นให้ผู้ป่วยมีearly ambulation ให้พลิกตะแคงตัวบ่อยๆ ลุกนั่งลุกเดินเข้าห้องน้ำ
- ดูแลให้ผู้ป่วยเริ่มจิบน้ำ และให้รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่ายตามลำดับ แนะนำให้หลีกเลี่ยงอาหารที่ย่อยยากและทำให้มีก๊าซมาก เช่น อาหารมัน อาหารประเภทถั่ว น้ำ อัดลม เป็นต้น
6.ประเมิน สังเกต สอบถามว่าผู้ป่วยสามารถเรอหรือการผายลม ซึ่งเป็นอาการที่แสดงถึงการ
เคลื่อนไหวของลำไส้
- ดูแลให้พักผ่อน ขจัดสิ่งกระตุ้นที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบาย เช่น การจัดสิ่งแวดล้อม ให้เงียบสงบ เป็นต้น
ปัญหาที่ 5 มีความวิตกกงัวลเนื่องจากขาดความรู้ในการปฏิบัติตัวหลังได้รับการส่องกล้องตรวจท่อน้ำ ดีและตบัอ่อน (ERCP) และเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบอกว่า “กังวลไม่รู้จะต้องปฏิบัติตัวอย่างไร ไม่มั่นใจ” ผู้ป่วยถามว่า ต้องทำตัวอย่างไรเมื่อต้องกลับไปอยู่ที่บ้าน
OD : ผู้ป่วยมีสีหน้าไม่สดชื่น
วัตถุประสงค์
คลายความวติกกังวลและมีความรู้ในการปฏิบัติตัวหลังได้รับการส่องกล้องตรวจท่อน้ำ ดีและตับอ่อน (ERCP) และเมื่อกลับไปอยู่บ้าน
เกณฑ์การประเมิน
- มีสีหน้าสดชื่นขึ้น
-คลายความวิตกกังวลลง
- สามารถบอกวิธีปฏิบัติตัวหลังได้รับการส่องกล้องตรวจท่อน้ำ ดีและตับอ่อน (ERCP) และ
เมื่อกลับไปอยู่บ้านได้ถูกต้อง รวมทั้งวิธีปฏิบัติตัวในการป้องกันการเป็นซ้ำของโรคนิ่วในท่อน้ำดีได้ถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินความวิตกกังวลของผู้ป่วย สร้างสัมพันธภาพที่ดี เปิดโอกาสให้ซักถามข้อข้องใจ
บอกถึงปัญหาและความต้องการช่วยเหลือจากพยาบาลตามความเป็นจริง
- แนะนำการปฏิบัติตัวให้แก่ผู้ป่วยและญาติหลังได้รับการส่องกล้องตรวจท่อน้ำดีและ
ตับอ่อน (ERCP) เมื่อกลับไปอยู่บ้าน ดังนี้
- แนะนำผู้ป่วยให้หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำ หรืออาหารร้อนๆ ในช่วง 2-3 วันแรกหลังตรวจ
- แนะนำเรื่องการออกกำลังกายอย่างเหมาะสมสม่ำเสมอ เพื่อหลีกเลี่ยงความอ้วน
- แนะนำการรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่และดื่มน้ำ สะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้ว
- แนะนำการสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ เช่น ตัวและตาเหลือง ปวดท้อง มีไข้
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ควรรีบมาพบแพทย์ทางเดินอาหารโดยทันที
- แนะนำให้ความรู้กับผู้ป่วยเกี่ยวกับการป้องกันการกลับ เป็นซ้ำของโรคนิ่วในท่อน้ำดีดังนี้
- การรับประทานอาหารที่มีความสมดุลของสารอาหาร และมีไขมันเพียงพอ จะ
กระตุ้นให้ถุงน้ำดีบีบตัวได้ดีเพื่อ ไม่ให้น้ำดีในถุงน้ำดีค้างนิ่งอยู่ นานจนเกิดนิ่วขึ้นมา
- การรับประทานอาหารที่มีกำกใย (fiber) สูง ได้แก่ ผัก ผลไม้และอาหารที่มี calcium
และมีไขมันแบบ saturated fats ต่ำ เช่น น้ำมันมะกอกเนื้อปลา เป็นต้น
- การควบคุมน้ำหนักไม่ให้อ้วน โดยการคุมอาหารที่มี calorie เหมาะสมและออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
- เน้นย้ำให้ผู้ป่วยปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของแพทย์และมาตรวจตามนัด รับประทานอาหารและยาตามที่แพทย์สั่ง
- เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึกและซักถามในสิ่งที่สงสัย
- ประเมินซ้ำหลังใหความรู้กับผู้ป่วยโดยการซักถามในประเด็นต่างๆ เพื่อประเมินความรู้ ความเข้าใจของผู้ป่วยและเน้นย้ำในสิ่งที่ผู้ป่วยเข้าใจไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
การวินิจฉัยโรคแรกรับ : Acute cholangitis ภาวะท่อน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน
การวินิจฉัยโรคสุดท้าย : Distal common bile duct stone นิ่วในท่อน้ำดีส่วนปลาย
-
การเกิดโรค acute cholangitis นั้นจำเป็นต้องมี 2 ปัจจัยสำคัญที่จะเกิด คือ 1) biliary tract obstruction (การตีบแคบของท่อน้ำดี)โดยส่วนใหญ่สาเหตุของ biliary obstruction ที่เป็น benign นั้นเกิดจาก choledocholithiasis (CBD stone) ส่วน malignant cause นั้นจะเกิดจาก pancreatic head cancer ซึ่งมีการรายงานว่าพบ acute cholangitis จาก malignant cause ประมาณ 10 – 30 %
-