Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การยึดตรึงส่วนโครงสร้าง, รี่ร่อพรีเอ่าร, ไนรพอ่รพนรน,…
บทที่ 6
การยึดตรึงส่วนโครงสร้าง
การยึตรึงด้วยตะปูควง
ทำมาจากเหล็กเหนียว
กำลังต้านทานของตะปูควง
ต่อแรงถอน
ต่อแรงเฉือนทางข้าง
การปรับค่ากำลังต้านทานแรงตะปูควง
ต่อแรงถอน
ใช้งานกลางแจ้ง เปียก,แห้ง สลับกัน -> ลด กลต/แรงถอน 75% ค่ากำหนด
ใช้งานเปียกชื้น All time -> ลด กลต/แรงถอน 67% ค่ากำหนด
ต่อแรงเฉือนข้าง
กลางแจ้งเปีแห้งสลับกัน -> ลดเหลือ 75% ค่ากำหนด
เปียกชื้น All time -> ลดเหลือ 67% ค่ากำหนด
ใช้แผ่นประดับเหล็ก -> เพิ่ม 25% ค่ากำหนด
ระยะฝังยึด < 7 เท่า สผศก -> ลดตามส่วน ระยะฝัง >/= 4 เท่า สผศก
การยึดตรึงด้วยตะปู
ทั่วไปใช้ตะปูผอม,ตะปูอ้วน
กำลังต้านทานแรงของตะปู
ต่อแรงถอน
แนว ตฉ เสี้ยนไม้
แนว ขน เสี้ยนไม้
ต่อแรงเฉือนทางข้าง
แนว ขน เสี้ยนไม้
แนว ตฉ เสี้ยนไม้ (ปลายเสี้ยน)
การปรับค่ากำลังต้านทานแรงของตะปู
กำลังต้านทานต่อแรงถอน
ผิวแห้งเมื่อรับ นน บรรทุกให้ลดกำลังต้านทานต่อแรงถอนเหลือเพียง 25% ของค่าที่กำหนด ยกเว้นตะปูแบบแกน
กำลังต้านทานต่อแรงเฉือนทางข้าง
ผิวแห้งเมื่อรับ นน บรรทุกลดกำลังต้านทานแรงเฉือนทางข้างในแนว ขน เสี้ยน 75% ของค่ากำหนด ลดในแนว ตฉ 67% ของค่ากำหนด
เมื่อใช้แผ่นประดับเหล็ก เพิ่ม กลต ต่อแรงเฉือนทางข้าง 25%
ระยะฝังยึดแกนตะปู < ที่กำหนดลด กลต ต่อแรงเฉือนทางข้างลงตามส่วน ระยะฝังยึดของตะปู >/= 1/3 ค่ากำหนด
ตอกตะปูฝังลึกถึงไม้แผ่น 3
ถ้าหนา </= 1/2 ไม้แผ่นกลาง -> เพิ่ม 33%
ถ้าหนา = หนาไม้แผ่นกลาง -> เพิ่ม 66%
ถ้าหนาระหว่างค่ากำหนด -> เพิ่ม 33%-66%
การจัดตำแหน่งตะปู
จัดระยะทางขอบไม้,ปลายไม้,ระหว่างแถว ตฉ แรง,ระยะห่างระหว่างศูนย์กลางที่ ขน ให้พอเหมาะ
การยึดตรึงด้วยตะปูเกลียวหรือนอตปลายปล่อย
ตะปูเกลียวทำมาจากเหล็กชนิด A307 ตามมาตรฐาน ASTM
กำลังต้านทานแรง
ต่อแรงถอน
ตฉ เสี้ยนไม้
ขน เสี้ยนไม้
ต่อแรงเฉือนทางข้าง
ขน เสี้ยนไม้
ตฉ เสี้ยนไม้
ตฉ ปลายเสี้ยน
การปรับค่ากำลังต้านทานแรง
กลต ต่อแรงถอน
กลางแจ้งเปียกสลับแห้ง -> ลดเหลือ 75% ค่ากำหนด
เปียกชื้น All time -> ลดเหลือ 67% ค่ากำหนด
กลต ต่อแรงเฉือนข้าง
กลางแจ้งเปียสลับแห้ง -> ลดเหลือ 75% ค่ากำหนด
เปียกชื้น All time -> ลดเหลือ 67% ค่ากำหนด
ใช้แผ่นประดับเหล็ก t </= 1/2 -> เพิ่ม 25%
ระยะฝัง < ค่ากำหนด -> ลดตามส่วน
แรงข้างทำมุม 0-90 องศา แนวเสี้ยน
ส่วนก้านตะปูยาว < ค.หนาไม้ประดับข้าง -> %ที่เหลือ
อัตราส่วนระหว่าง ค.หนาไม้ประดับ ขนาด สผศก > 3.5 และอัตราส่วนระหว่างระยะผิวของด้านในชิ้นส่วนหลักต่อขนาด สผศก > 0 -> กำลังต้านแรงเฉือนเพิ่มตามกราฟ
การยึดตรึงด้วยแหวนยึดไม้
แหวนยึดแบบฟัน
ทำจากยึดแผ่นเหล็กรีดร้อนและงอ
แหวนยึดแบบแผ่นรับแรงเฉือน
กดเป็นรูป,หล่อเป็นรูป
กำลังต้านทานแรงของแนวยึดแบบวงแหวนผ่า
การปรับค่าความต้านทานแรงแหวนยึดแบบวงแหวนผ่า
รับ นน ถาวรหลายปี -> ลดเหลือ 90% ค่ากำหนด
เปียกสลับแห้ง -> ลดเหลือ 80% ค่ากำหนด
ไม้สดชื้น 28% -> ลดเหลือ 80% ค่ากำหนด
แรงทำมุม (องศา) -> สูตร Hankimson
ไม้กลุ่ม
ก
ไม้เนื้อแห้ง
กันเครา แดง ตะกร้อไข่ ตะกร้อแรม รัง นมหิน
ไม้เนื้อแห้งมาก
กระพี้เขาทราย เหล้ง ตีนนก บุนนาก
ข
แห้งปานกลาง
กร่าง ตะเคียนทอง ตะเคียนหนู ตะแบก
ค
เนื้ออ่อน
กราด กระเจา ละบาก ตะปูนนาง พะยอม
ง
เนื้ออ่อนมาก
กะท้อน จำปาป่า จิกนม ยมหอม
การยึดตรึงด้วยสลักไม่มีเกลียวหรือลิ่มเหล็ก
กำลังต้านทานแรง
แรงถอนแนว ตฉ เสี้ยนไม้
ส่วนกำลังต้านทานต่อแรงเฉือนข้างของลิ่มเหล็ก < กำลังต้านทาน/แรงเฉือนข้างของสลักเกลียวที่มีขนาด สยศก เท่ากัน
การยึตรึงด้วยสลักเกลียว
กำลังต้านทานแรงทางข้าง
ขึ้นกับแรงกดเนื้อไม้กับสลักเกลียว,ระนาบรับแรงเฉือน
คย แกนส่วนหลัก,ขนาด สผศก ,ชนิดไม้
หน่วยแรงกดมาตรฐาน
ไม้กลุ่ม 1
แนว ขน เสื้ยน
แนว ตฉ เสี้ยน
ไม้กลุ่ม 2
แนว ขน เสี้ยน
แนว ตฉ เสี้ยน
ไม้กลุ่ม 3
แนว ขน เสี้ยน
แนว ตฉ เสี้ยน
การปรับค่าความต้านทานแรง
ใช้กลางแจ้งเปียกสลับแห้ง -> ลดเหลือ 75% ค่ากำหนด
เปียก All time -> ลดเหลือ 67% ค่ากำหนด
ใช้แผ่นประดับเหล็ก -> เพิ่ม 25%
แรงทางข้างทำมุม 0-90 องศา
รี่ร่อพรีเอ่าร
ไนรพอ่รพนรน
นางสาวพิชชาภา จันทร์เหมย 62364346
สาขาวิศวกรรมโยธา