click to edit title
สตรีตั้งครรภ์ที่มีปัญหาโรคหัวใจ
อาการ
แนวทางการดูแลรักษาสตรีตั้งครรภ์
เป็นลมเมื่อต้องออกแรง
ไอเป็นเลือด (hemoptysis)
หอบเหนื่อย (dyspnea)
ทําให้นอนราบไม่ได้ในเวลากลางคืน
ระยะตั้งครรภ์
ระยะคลอด
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
Fetal risks
Prenatal care
Maternal risks
การปฏิบัติตัวอย่างเหมาะสมเพื่อลดการทํางานของหัวใจในระยะตั้งครรภ์สอดคล้องกับการดูแลรักษา
การรับประทานยาสําหรับผู้ป่วยโรคหัวใจ
การมารับบริการฝากครรภ์อายุครรภ์ 1-28 สัปดาห์นัดฝากครรภ์ทุก 2 สัปดาห์
Ultrasound
ให้ยาระงับปวด
ให้ยาปฎิชีวนะ
ให้คลอดทางช่องคลอด (ผ่าท้องทําคลอดเมื่อมีข้อบ่งชี้)
ระยะหลังคลอด
ให้ผู้ป่วยนอนพัก และให้ยานอนหลับ
งดเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา ใน class III, IV และผู้ที่เคยมีภาวะหัวใจวาย
เฝ้าดูผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดในระยะ 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอดระวังและป้องกันภาวะหัวใจวาย
แนะนําให้ทําหมัน ควรทําหลังคลอดอย่างน้อย 5 วัน
click to edit
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (Anemia in Pregnancy)
ระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
การรับประทานยาบํารุงพวกธาตุเหล็ก
เน้นให้เห็นความสําคัญของการมาตรวจครรภ์ตามนัด
แนะนําเรื่องการรับประทานอาหาร
การให้ Iron Dextran (v)/(m) deeply
Screening หาค่า Hb, Hct ทุกราย
ท่านอนรอคลอด ต้องนอนตะแคงซ้าย หรือหัวสูง
ให้ออกซิเจน
Vital signs และ FHS ทุก 30 นาที- 1 ชั่วโมง
Blood group preparation ให้พร้อม
พิจารณาเลือกวิธีการคลอดที่เหมาะสมและปลอดภัยแก่มารดาและทารก
Perineum Care
เน้นความสําคัญของการรับประทานอาหาร-ยาบํารุง
Check Vaginal Bleeding, Uterine Contraction
การให้นมบุตร
Vital Signs อย่างใกล้ชิด เพราะมีภาวะ Hypovolemia อยู่แล้ว
ภาวะโลหิตจางจากการขาดกรดโฟลิค (Megaloblastic Anemia : Folic acid deficiency)
สาเหตุของภาวะโลหิตจางจากการขาดกรดโฟลิค
อาการ
ยับยั้งการดูดซึมกรดโฟลิค
การตั้งครรภ์แฝด
การดูดซึมไม่ดี
เม็ดเลือดแดงแตกเรื้อรัง
การได้รับสารอาหารที่มีกรดโฟลิคน้อยลง
อัตราเผาผลาญสารอาหารเพิ่มขึ้น
อ่อนเพลีย (Weakness) เบื่ออาหาร (Anorexia) ปวดศีรษะ (Headache) วิงเวียน (Vertigo) ซีด
(Pallor)
Edema of joint
Palpitation
โรคเลือดจางที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมธาลัสซีเมีย
การป้องกัน
ให้คําปรึกษาด้านพันธุศาสตร์แก่รายที่มีความเสี่ยงต่อการมีบุตรเป็นธาลัสซีเมีย
วินิจฉัยก่อนคลอด และให้ทางเลือกในการยุติการตั้งครรภ์ในรายที่ลูกเป็นโรคชนิดรุนแรง
คัดกรองหาผู้เป็นพาหะของยีนธาลัสซีเมีย
ติดตามผู้ป่วยและประเมินผล
ให้การศึกษาความรู้เกี่ยวกับธาลัสซีเมียในชุมชน
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
อาการและอาการแสดง
หิวบ่อย
น้ําหนักลด
กระหายน้ํา
อ่อนเพลีย คันตามตัว มีการติดเชื้อง่าย
ปัสสาวะมาก (polyuria)
แนวทางการรักษา
ระยะคลอด
ระยะหลังหลอด
ระยะตั้งครรภ์
การประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
สตรีตั้งครรภ์เป็นเบาหวานควรได้รับการตรวจ
การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือด
การรักษาด้วยอินสุลิน(Insulin)
การรักษาด้วยยาชนิดรับประทาน
ควบคุมระดับน้ําตาล
การให้นมบุตร ให้ได้ตามปกติ
- ยาเม็ดคุมกําเนิดชนิดฮอร์โมนต่ํา มักไม่พบผลเสียต่อ DM
โรคของต่อมธัยรอยด์ในสตรีตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
การพยาบาล
click to edit
- ใจสั่น ใจหวิว
- อัตราการเต้นของหัวใจ มากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
- ชีพจรเต้นเร็วแม้ในขณะพัก(sleep pulse มากกว่า 100 ครั้งต่อนาที)
- ความดันโลหิตสูง
- มือสั่น
- เหงื่อออกมาก ร้อนง่าย ทนร้อนไม่ได้ ผิวหนังอุ่น
- กินเก่ง จุ น้ําหนักลด ท้องเสียง่าย
- หายใจลําบาก
- เหนื่อยล้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง กล้ามเนื้อลีบ
- อารมณ์อ่อนไหว แปรปรวน หงุดหงิดง่าย โมโหง่าย
- คอพอก ตาโปน(Exopthalmos) เห็นภาพซ้อน
- คันตามผิวหนัง เล็บแยกออกจากฐาน(Onycholysis)
ตรวจครรภ์น้ําหนักขึ้นน้อยหรือขนาดของมดลูกโตไม่สัมพันธ์กับอายุครรภ์
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจร่างกายประเมินการทํางานของหัวใจและความผิดปกติของเมตาบอริซึม
การประเมินจิตสังคม
การซักประวัติ
หอบหืด (Asthma)
อาการและอาการแสดง
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นหอบหืด
การหายใจออกลําบากกว่าการหายใจเข้า
ในขณะหอบ จะหายใจลําบากต้องใช้กล้ามเนื้อที่คอและไหล่
- มีอาการไอเรื้อรัง (ไอนานมากกว่า 8 สัปดาห์ขึ้นไป)
หายใจเร็วมากกว่า 35 ครั้ง/นาที ชีพจรเร็วมากกว่า 120 ครั้ง/นาทึ เหงื่อออกมาก
ระยะคลอด
ระยะตั้งครรภ์
- หลีกเลี่ยงยาแอสไพรินและอนุพันธ์อื่น ๆ ซึ่งเสริมอาการให้มากขึ้น
- หลีกเลี่ยงยาที่มีส่วนประกอบของไอโอไดด์เนื่องจากไอโอไดด์ผ่านรก
- หลีกเลี่ยงสารที่ก่อให้เกิดอาการ
4.ตรวจเพาะเชื้อในเสมหะ
- อธิบายผลข้างเคียงของยาบางอย่างที่ผู้ป่วยได้รับขณะตั้งครรภ์
ให้ออกซิเจนไว้เพื่อรักษาระดับของความดันก๊าซให้อยู่ระหว่าง 70-80 มม.ปรอทในร่างกาย
ดูแลการให้อาหารและสารน้ําให้พอเพียง
ประเมินอาการแสดงที่รุนแรงได้อย่างรวดเร็ว
หลีกเลี่ยงการให้ยากด อาการไอยาระงับประสาท, ยาแก้แพ้ต่าง
การผ่าท้องคลอด
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
หนองในในสตรีตั้งครรภ์
โรควัณโรค
การพยาบาล:
อาการและอาการแสดง
หายใจลําบาก
มีไข้ต่ํา ๆ
ไอเป็นเลือด
เบื่ออาหาร
น้ําหนักลด
ทบทวนการปฏิบัติตัวของสตรีตั้งครรภ์
วางแผนหาคนดูแลทารกหลังคลอด
วางแผนการดูแล และ ให้คําแนะนําการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อร่วมกับครอบครัวของสตรีตั้งครรภ์
หากสตรีตั้งครรภ์ต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล ควรแยกจากผู้อื่น จํากัดผู้เยี่ยม และสังเกตความผิดปกติ
ของระบบทางเดินหายใจ
คัดกรองภาวะเสี่ยง
click to edit
โรคโควิด-19
แนวทางการจัดบริการฝากครรภ์ของกรมอนามัย
การนัดหมายการรับบริการเป็นช่วงเวลาและจํากัดจํานวนผู้ติดตามสตรีตั้งครรภ์ ไม่เกิน 1 คนเพื่อ
ลดความแออัด
ลดระยะเวลาการรับบริการของหญิงตั้งครรภ์ที่โรงพยาบาล
จัดสถานที่นั่งรอตรวจให้มีระยะห่างอย่างน้อย 1 เมตร
ให้บริการฝากครรภ์แบบ One Stop Service
ทําความสะอาดสถานที่ อุปกรณ์เครื่องมือตามเกณฑ์มาตรฐาน
บุคลากรมีการป้องกันตนเอง ใส่หน้ากากอนามัย ถุงมือและล้างมือ
จัดทําทะเบียนหญิงตั้งครรภ์และช่องทางการติดต่อ
สตรีตั้งครรภ์และผู้ติดตามต้องใส่หน้ากากอนามัยและเข้าสู่ระบบคัดกรองของหน่วยงานทุกครั้ง
นัดหมายการส่งยาบํารุงครรภ์ตามช่อทางที่สะดวกในกรณีเลื่อนนัด
การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะโดยที่ไม่แสดงอาการ
การพยาบาล
ระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
บันทึกสารน้ําเข้าออกจากร่างกาย สังเกตลักษณะและสีของปัสสาวะ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงในระหว่างที่มีไข้เพื่อลดกิจกรรมของร่างกาย
ดูแลให้ดื่มน้ํามาก กว่าวันละ 3000 มิลลิลิตร
ดูแลแนะนําทําความสะอาดร่างกายอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
ดูให้ได้รับสารน้ําและอาหารว่างเหมาะสมตามแนวการรักษา
ตรวจประเมิน ชีพจร หายใจและความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
ให้นอนพักผ่อนบนเตียง
งดตรวจความก้าวหน้าของการคลอดภายใน
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ซักถามและเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเล่าถึงความกลัวและความวิตกกังวล
อธิบายให้ทราบถึงลักษณะของโรค อาการและอาการแสดง สาเหตุ แนวทางการรักษาพยาบาล
แสดงความเป็นมิตร ปลอบโยน ให้กําลังใจ และแสดความเป็นกันเองให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่นไว้วางใจ
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis )
อาการและอาการแสดง
การพยาบาล
ปวดหลังหรือเหนือหัวเหน่าเล็กน้อย
ปัสสาวะขุ่น อาจมีเลือดอยู่ในปัสสาวะ
ปัสสาวะแสบขัดตอนถ่ายปัสสาวะสุด
ปัสสาวะบ่อย
ระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
แนะนําให้ถ่ายปัสสาวะทุกครั้งที่ปวดถ่ายไม่ให้กลั้นปัสสาวะ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ให้นอนตะแคงด้านใดด้านหนึ่งหรือสลับกันเพื่อลดการกดทับของมดลูกต่อท่อไตช่วยให้ปัสสาวะไหล
สะดวกไม่ตกค้าง
บันทึกสารน้ําเข้าออกจากร่างกาย สังเกตลักษณะและสีของปัสสาวะ
จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงในระหว่างที่มีไข้เพื่อลดกิจกรรมของร่างกาย
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ทําความสะอาดร่างกายให้เพื่อป้องกันการติดเชื้อของร่างกาย
ดูให้ได้รับสารน้ําและอาหารว่างเหมาะสมตามแนวการรักษา
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดโดยจัดการหดรัดตัวของมดลูกทุก 4 ชั่วโมง
ให้นอนพักผ่อนบนเตียง ศีรษะสูงเพื่อช่วยให้กระบังลมไม่ถูกเบียด
ซักถามและเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเล่าถึงความกลัวและความวิตกกังวล
อธิบายให้ทราบถึงลักษณะของโรค อาการและอาการแสดง สาเหตุแนวทางการรักษาพยาบาล
แสดงความเป็นมิตร ปลอบโยน ให้กําลังใจ และแสดความเป็นกันเองให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่นไว้วางใจ
กรวยไตอักเสบในสตรีมีครรภ์
ระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
บันทึกสารน้ําเข้าออกจากร่างกาย สังเกตลักษณะและสีของปัสสาวะ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ประเมินสัญญาณชีพ ทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ดื่มน้ํามาก กว่าวันละ 3000 มิลลิลิตร
จัดให้นอนพักผ่อนบนเตียงในระหว่างที่มีไข้เพื่อลดกิจกรรมของร่างกาย ลดการใช้พลังงานและการ
เผาผลาญพลังงานจนกว่าไข้ลดจึงกระตุ้นให้ทํากิจกรรมต่าง
แนะนําให้ถ่ายปัสสาวะทุกครั้งที่ปวดถ่ายไม่ให้กลั้นปัสสาวะ
ทําความสะอาดร่างกายให้เพื่อป้องกันการติดเชื้อของร่างกาย
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดโดยจัดการหดรัดตัวของมดลูกทุก 4 ชั่วโมง
ตรวจประเมิน ชีพจร หายใจและความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
งดตรวจความก้าวหน้าของการคลอดภายใน
ซักถามและเปิดโอกาสให้ผู้ป่วยเล่าถึงความกลัวและความวิตกกังวล
อธิบายให้ทราบถึงลักษณะของโรค อาการและอาการแสดง สาเหตุ แนวทางการรักษาพยาบาล
แสดงความเป็นมิตร ปลอบโยน ให้กําลังใจ และแสดความเป็นกันเองให้ผู้ป่วยรู้สึกอบอุ่นไว้วางใจ
Acute appendicitis in Pregnancy
การพยาบาล
ห้ามให้ยาจําพวก มอร์ฟีน เพราะจะบดบังอาการทําให้วินิจฉัยได้ยาก
ตรวจสอบอาการติดเชื้อ จากสัญญาณชีพ ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาจวางกระเป๋าน้ําแข็งบรรเทาปวดได้
ประเมินอาการปวดท้องว่าสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูกหรือไม่
ไม่ควรสวนถ่ายอุจจาระเพราะอาจทําให้ไส้ติ่งแตกได้
ฟังเสียงหัวใจทารก บันทึกการดิ้นของทารก เพื่อประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
จัดท่านอนศีรษะสูงประมาณ 45 องศา เพื่อช่วยให้หน้าท้องหย่อนบรรเทาอาการปวด
สังเกตสิ่งคัดหลั่งออกทางช่องคลอด เช่น เลือดสด ๆ เป็นต้น
งดอาหารและน้ําทางปากทุกชนิด
ควรให้การพยาบาลก่อนและหลังผ่าตัดตามแผนการพยาบาล
สตรีตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
ระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
ระยะตั้งครรภ์
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรค
แนะนําให้พาสามีและคนใกล้ตัวมาตรวจเลือดและให้วัคซีนป้องกัน
แนะนําให้พักผ่อน รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ไขมันน้อย ดื่มน้ํามาก เพราะอาจทําให้ไขมันสะสม
ตับมากขึ้น งดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ
ขณะคบอดการดูดเมือกออกจากจมูก ปาก ทารก ให้เร็วที่สุด
อาบน้ําทําความสะอาดทารกทันทีหลังคลอด
ใช้หลัก Universal precaution ในการทําคลอด
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง ย่อยง่าย ไขมันต่ํา พักผ่อนให้เพียงพอ อย่าเครียดมาก
เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ ถ้าหัวนมมารดาไม่แตก
แนะนําการแพร่กระจายเชื้อ โดยแยกของใช้สําหรับมารดาและทารก
ให้ Passive immunization
โรคซิฟิลิส (Syphilis)
อาการแสดงของซิฟิลิส
ซิฟิลิสทุติยภูมิ(secondary syphilis)
ซิฟิลิสระยะแฝง(latent syphilis)
ซิฟิลิสปฐมภูมิ(primary syphilis)
ซิฟิลิสระยะตติยภูมิ(tertiary or late syphilis)
อาการแสดงของโกโนเรีย
อาการตกขาวเป็นหนอง
คันปากช่องคลอด
ส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการ
ปวดท้องน้อย
เริมอวัยวะเพศ(Genital herpes)
การรักษา
อาการแสดงของเริม
บางรายอาจมีไข้ต่ํา ๆ
ปัสสาวะขัดร่วมด้วยได้
จะมีตุ่มน้ําใสเล็ก ๆ ขอบแดง
click to edit
Acyclovir 400 mg รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7–10 วัน หรือ
Acyclovir 200 mg รับประทานวันละ 5 ครั้ง นาน 7–10 วัน หรือ
Valacyclovir 1 g รับประทานวันละ 2 ครั้ง นาน 7–10 วัน หรือ
Famciclovir 250 mg รับประทานวันละ 3 ครั้ง นาน 7–10 วัน
click to edit
หูดหงอนไก่ (condyloma accuminata)
click to edit
แผลริมอ่อน (chancroid)
การรักษา
Azithromycin 1 g กินครั้งเดียว หรือ
Ceftriaxone 250 mg IM ครั้งเดียว หรือ
Erythromycin base 500 mg กินวันละ 3 ครั้ง นาน 7 วัน
อาการแสดงของหูดหงอนไก่
การรักษา
มีน้ําหนอง
มีกลิ่นเหม็นได้
ลักษณะเป็นติ่งเนื้อยื่น
ในสตรีตั้งครรภ์ แนะนําให้รักษาโดยใช้ cryotherapy with liquid nitrogen, laser ablationหรือ
ผ่าตัดออก หรือใช้ 80-90% Trichloroacetic acid (TCA) จี้ภายในและภายนอกช่องคลอด
การติดเชื้อหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
การพยาบาล
เบื่ออาหาร
ตาแดง
มีไข้ต่ํา ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว
ไอ
เจ็บคอ
ต่อมน้ําเหลือง
บริเวณหลังหูโต
ประเมินภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์เกี่ยวกับการได้รับภูมิคุ้มกันโรคหัดเยอรมัน
เปิดโอกาสให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวได้ระบายความรู้สึกและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับผลของ
การติดเชื้อต่อสุขภาพของตนเองและทารกในครรภ์
แนะนําให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ําเสมอ
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดําเนินของโรค ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์และต่อทารกใน
ครรภ์ และการรักษาพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อหัดเยอรมันแก่สตรีวัยเจริญพันธุ์ที่ยังไม่ได้รับวัคซีนมาก่อน
นางสาวจันทิมา ศิรินพกร เลขที่12
รหัสนักศึกษา62280102