Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nephrotic syndrome (NS) - Coggle Diagram
Nephrotic syndrome (NS)
สาเหตุ
-
มีสาเหตุจากโรคอื่นแล้วทำให้เกิดพยาธิสภาพที่เนื้อไต เช่น hepatitis B, hepatitis C, syphilis, malaria
การได้รับสารพิษและยาจำพวก nephrotoxins, NSAID เป็นต้น
-
จากกรณีศึกษา
ผู้ป่วยอาจเกิดการแพ้จากการรับประทานอาหาร มาดารผู้ป่วยบอกว่า ผู้ป่วยไปงานวัดกับบิดา รับประทานอาหารไปหลายอย่าง
-
อาการและอาการแสดง
อาการบวม อาจมีน้ำในช่องท้อง (ascites) น้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด (plural effusion) ถุงอัณฑะหรือ เลเบียบวม
-
-
-
-
จากกรณีศึกษา
หลังจากวันนั้นมีอาการบวมทั้งตัว เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2565 มารดาจึงนำส่งโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการตาบวม(puffy eye lid) อัณฑะบวม ปัสสาวะมีสีเข้ม และเป็นฟอง ปัจจุบันมีปัสสาวะสีเหลือง เป็นฟองเล็กน้อย
การรักษา
- การรักษาเริ่มต้น
ใช้ยา prednisolone
- การรักษาแบบประคับประคอง
2.1 อาหาร ให้สารอาหารครบ 5 หมู่
2.2 การรักษาอาการบวม ในผู้ป่วยปกติจะไม่จำกัดน้ำดื่มและจะไม่ให้ยาขับปัสสาวะ แต่จะแก้ไขอาการบวมโดยการจำกัดเกลือในอาหาร
2.3 การรักษาภาวะบวมมากจึงจะพิจารณาให้ 20-25% albumin ร่วมกับยาขับปัสสาวะ
การวินิจฉัย
- อาการบวมซึ่งมักเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน ส่วนใหญ่มักบวมที่หนังตา (puffy eye lid) และบวมกดบุ๋มที่บริเวณหน้าแข้ง
- ตรวจปัสสาวะ พบโปรตีนในปัสสาวะ 3+ ถึง 4+
- การตรวจอัลบูมินในเลือด พบอัลบูมินต่ำกว่า 2.5 กรัม/เดซิลิตร
- พบภาวะไขมันในเลือดสูง โดยมีระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูงกว่า 250 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
จากกรณีศึกษา
บวมที่หนังตา (puffy eye lid)
ผลตรวจวันที่ 4 กรกฎาคม 2565
ตรวจปัสสาวะ พบโปรตีนในปัสสาวะ 3+
อัลบูมินต่ำกว่า 2.1 กรัม/เดซิลิตร
การพยาบาล
- ดูแลให้ได้รับยา prednisolone ตามแผนการรักษา
เพื่อลดการสูญเสียโปรตีนที่ออกมาทางปัสสาวะ จนกระทั่งตรวจไม่พบโปรตีนในปัสสาวะ และสังเกตอาการข้างเคียงของยา เพราะยามีผลทำให้ภูมิคุ้มกันลดลง ดังนั้นก่อนรักษาโรคไตเนฟโฟรติกในผู้ป่วยทุกรายควรตรวจหาและรักษาภาวะติดเชื้อที่ซ่อนเร้น เช่น การทดสอบวัณโรคที่ผิวหนัง การตรวจฟันผุ
- ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารจืด ไม่ปรุงแต่งรสด้วยน้ำปลา เกลือ ผงชูรส ซอส ซีอิ้ว ลงในอาหาร
- ดูแลให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนเพียงพอซึ่งเป็นโปรตีนจากเนื้อสัตว์และไข่
- ประเมินอาการบวมและการมีน้ำเกินในร่างกายโดย
4.1 สังเกตอาการบวมตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย
4.2 บันทึกจำนวนน้ำที่ผู้ป่วยได้รับและปัสสาวะที่ออกในแต่ละวัน
4.3 ชั่งน้ำหนักตัวผู้ป่วยและบันทึกในแต่ละวัน