Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคจิตเภท (Schizophrenia), นางสาวณัฐนรี สวนจันทร์ เลขที่ 2 รหัสนักศึกษา…
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
ความหมาย
DSM-5 กลุ่มอาการของความผิดปกติที่มีลักษณะอาการของความเจ็บป่วยทางจิตและการทำหน้าที่ต่างๆลดลง
WHO เป็นโรคที่ทำให้เกิดความผิดปกติในด้านบุคลิกภาพ ความคิด และการรับรู้แต่ความรูสึกตัวและสติปัญญายังคงปกติ
ระบาดวิทยา
ความชุกชั่วชีวิตของโรคจิตเภทพบร้อยละ 0.3-0.7
เพศชายมักแสดงอาการเริ่มต้นเร็วกว่าเพศหญิง พบสูงสุดอยู่ในช่วงอายุ 15-25 ปี ประมาณร้อยละ 90 มีอายุระหว่าง 15-55 ปี
ทั่วโลกมีผู้ที่ป่วยด้วยโรคนี้ถึง 21 ล้านคน
ในประเทศไทยพบความชุกร้อยละ 0.88 ในปี2558 พบโรคจิตเภทเป็นโรคทางจิตเวชที่พบมากที่สุดเป็นอันดันหนึ่ง
อาการและอาการแสดง
อาการประสาทหลอน
อาการพูดสับสน
อาการหลงผิด
อาการของพฤติกรรมที่แปลกประหลาดไป
สาเหตุ
ปัจจัยด้านบุคลิกภาพ
Paranoid Prsonality
Schizoid Personality
Schizotypal Personality
ปัจจัยด้านครอบครัว
สภาพครอบครัวที่มีการใช้อารมณ์ต่อกันสูง
มารดาเป็นสาเหตุของโรคจิตเภท ทฤษฎีนี้ไม่ได้รับความน่าเชื่อถือในปัจจุบัน
การสื่อสารภายในครอบครัวแบบ Double bind communication
ปัจจัยด้านจิตใจ
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์และทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ ความผิดปกติในวัยเด็กโดยเฉพาะในขวบปีแรก
การรับรู้และไวต่อความเครียดมากกว่าปกติ
ความขัดแย้งในใจที่เกิดจากสัญชาตญาณธรรมชาติที่มีมากและไม่สามารถควบคุมได้
การได้รับความกระทบกระเทือน การถูกทารุณกรรมทางด้านร่างกายหรือจิตใจในวัยเด็ก
ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม
ทฤษฎีการเรียนรู้ ในวัยเด็กมีแนวโน้มการคิดอย่างไม่มีเหตุผล
พบว่ามีความสัมพันธ์กับการใช้สุราและสารเสพติดต่างๆเป็นระยะเวลายาวนาน
พบมากในผู้ที่มีสถานภาพทางเศรษฐกิจต่ำ
ปัจจัยด้านชีวภาพ
พันธุกรรม พบโครโมโซมคู่ที่ 6 ผิดปกติ
ด้านระบบสารชีวเคมีในสมอง การทำงานมากเกินไปของโดปามีน ความผิดปกติของภาวะสมดุลระหว่างซีโรโทนินกับโดปามีน
ด้านกายวิภาคของสมอง เช่น สมองส่วนLimbic System,
ด้านประสาทสรีรวิทยา เช่น มีภาวะ Hypofrontality
ด้านการทำงานของต่อมไร้ท่อ เช่น Hyperthyroidism
ด้านการได้รับความกระทบกระเทือนทางสมอง
การวินิจฉัยโรคตาม DSM-5.
จัดเรียงโรคตามระดับโดยเรียงตามความรุนแรง จำนวน อาการ และระยะเวลา
นำ schizotypal personality disorder เข้ามาจัดให้เป็นโรคแรกคือมีความเป็น psychosis น้อยที่สุด
อาการที่เป็น domain ของ psychosis
Delusional disorder Criteria
Catalonia Criteria
Schizoaffective disorder Criteria C
Schizophrenia Criteria A
Specify
การพยาบาลผู้ป่วยโรคจิตเภท
3.การวางแผนพยาบาล
การวางแผนระยะสั้น เช่นการระวังเรื่องอุบัติเหตุ ดูแลสภาพร่างกาย
การวางแผนระยะยาว เช่น การบำบัดอย่างต่อเนื่อง กำหนดเป้าหมายการดำเนินชีวิต
4.การปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพ
ประเมินอาการหลงผิด ประสาทหลอน
รับฟังสิ่งที่ผู้ป่วยบอกเล่าด้วยความเข้าใจ
บอกความจริงในขณะนั้น
จัดส่งแวดล้อม ลดสิ่งเร้ากระตุ้น
ฝึกเทคนิคการเอาชนะอาการหลงผิดด้วยตนเอง
เบี่ยงเบนความสนใจของผู้ป่วย
ให้แรงเสริมทางบวกเมื่อผู้ป่วยมีความคิดหรือการรับรู้ถูกต้อง
2.การวินิจฉัยการพยาบาล
พฤติกรรมถดถอยเนื่องจากการรับรู้เสีย
เสี่ยงต่ออันตรายจากอุบัติเหตุเนื่องจากอาการหลงผิดและประสาทหลอน
5.การประเมินผลลัพธ์ทางการพยาบาล
ความปลอดภัย
การบำบัดด้วยยา ทางจิตสังคม
สัมพันธภาพกับครอบครัว บุคคลอื่น
การพัฒนาทักษะการสื่อสารกับบุคคลอื่นดีขึ้น
การปฏิบัติบทบาทของตนในครอบครัว
การใช้ชีวิตตามปกติในสังคม ชุมชน
1.การประเมินสภาพปัญหา
ประเมินสภาพร่างกาย
ประมาณสภาพจิต
บทบาทของพยาบาล
2.Milieu Therapy เน้นการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมลดภาวะเครียด
3.การรักษาด้วยมย เช่น Antipsychotic drugs, Antiparkinson agents
1.Psychotherapy การบำบัดทางจิตสังคม
การสนับสนุนจากสังคม
กลุ่มช่วยเหลือกันเอง
การบำบัดพฤติกรรม
การตัดการายกรณี
การสัมภาษณ์เพื่อเสริมแรงจูงใจในการรักษา
รูปแบบการบำบัดดูแลเชิงรุกในชุมชน
4.Somatic or Electroconvulsive Therapy
Severe Schizophrenia
ผู้ป่วยมีอาการซึมเศร้าอย่างมากร่วมด้วย
ผู้ป่วยที่มีอาการคลุ้มคลั่งมาก ไม่สามารถควบคุมด้วยยา ทำสัปดาห์ละ3 ครั้ง รวม 6-12 ครั้ง
นางสาวณัฐนรี สวนจันทร์ เลขที่ 2 รหัสนักศึกษา 116312201003-1