Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ส่วนโครงสร้างรับแรงตามแนวแกน - Coggle Diagram
ส่วนโครงสร้างรับแรงตามแนวแกน
การออกแบบส่วนโครงสร้างรับแรงดึง
หน้าตัดวิกฤต - หน้าตัดที่มีหน่วยแรงกระทำสูงสุดและอาจเกิดความเสียหายได้สูงสุด
ค่าAnต้องมีค่าไม่น้อยกว่าผลรวมพื้นที่รับแรงกดของรอยต่อทั้งหมด
ไม้เนื้อแข็งสด 42%
ไม้เนื้ออ่อนอบแห้ง 80%
ไม้เนื้อแข็ง อบแห้ง 100%
ไม้เนื้ออ่อนสด 33%
ถ้าต่อโดยใช้ตะปูค่า An=Ag ได้เลย
ถ้าต่อโดยสลักเกรียว
กรณีสลักเกรียวไม่เยื้องหรือสลับกันใช้Anต่ำสุดและรูเจาะใหญ่ประมาณ1/16นิ้ว
กรณีสลักเกรียวมีการเยื้องหรือสลับกัน เจาะรูห่างแนวดิ่งไม้ไม่เกิน4dหรือทำมุมไม่เกิน45องศา
หลักการออกแบบส่วนโครงสร้างรับแรงอัด
กำลังรับน้ำหนักของเสา
เสาสั้น-จะวิบัติในลักษณะถูกกดอัดจนยู่โดยไม่โก่งตัวออกข้าง
เสายาว-เสาโก่งตัวออกข้างก่อนการเกิดวิบัติ
ผลของการยึดปลายเสาที่มีต่อกำลังรับน้ำหนักของเสา
การทำค้ำยันข้างเสา
ค้ำยันที่ปลายเสาอย่างเดียว
ค้ำยันที่ปลายเสาและระหว่างช่วงเสา
หลักการออกแบบเสาไม้
สูตร fa=P/A
หน่วยแรงที่เกิดขึ้น(fa) ต้องมีค่าไม่เกินกว่าหน่วยแรงอัดที่ยอมได้(Fa)ของส่วนโครงสร้าง
การออกแบบเสาไม้ต้นธรรมดา
สูตรคำนวณหาแรงหน่วยแรงอัดที่ยอมในเสาตันรูปกลม
:
การออกแบบเสาประกอบ
เสาประกอบกลวงรูปตัดคล้ายกล่อง - ประกอบด้วยไม้เพียง4แผ่น
เสายาวปานกลาง - 8 < Le/d <= Kb
เสายาว - Kb < Le/d <= 50
เสาสั้น - Le/d <= 8
เสาประกอบตัน - ประกอบด้วยไม้ไม่เกิน5แผ่น
ค่า Le/d=14 ค่า F=0.71
ค่า Le/d=18 ค่า F=0.65
ค่า Le/d=10 ค่า F=0.77
ค่า Le/d=22 ค่า F=0.74
ค่า Le/d=6 ค่า F=0.82
ค่า Le/d=26 ค่า F=0.82
เสาประกอบไม้แผ่น
ใช้ตัวคูณ Kf=0.6เมื่อไม้แผ่นยึดตรึงด้วยตะปู
ใช้ตัวคูณ Kf=0.75 เมื่อไม้แผ่นยึดตรึงด้วยสลักเกรียว
เสาประกับพุก
สูตรพาราโบลากำลังสี่