Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Anxiety disorder, นางสาวณัฐนรี สวนจันทร์ เลขที่ 2 รหัสนักศึกษา…
Anxiety disorder
ภาวะการปรับตัวผิดปกติ (Adjustments disorders)
ระบาดวิทยา
พบได้ทุกอายุโดยเฉพาะในกลุ่มวัยรุ่น ในกลุ่มผู้ใหญ่จะพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย 2 เท่า
การศึกษาระบาดวิทยาในชุมชนพบร้อยละ 2-8
ลักษณะอาการและอาการแสดง
มีการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์แลพฤติกรรมตอบสนองต่อภาวะกดดันที่ปรากฎชัดเจน ภายใน 3 เดือนนับตั้งแต่เริ่มมีภาวะกดดดัน
มีลักษณะใดลักษณะหนึ่ง 1.มีอาการเครียดมากเกินการตอบสนองตามปกติ 2.มีความบกพร่องในหน้าที่การงาน การเรียนอย่างชัดเจน
ความผิดปกติดังกล่าวไม่เข้าเกณฑ์การวินิจฉัยของโรคทางจิตเวชอื่น ไม่ได้เป็นการกำเริบของโรคจิตเวชเดิม
ไม่ใช่การตอบสนองต่อการสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รัก
เมื่อความกดดันหายไป จะมีอาการอยู่ไม่เกิน 6 เดือน
สาเหตุ
Situational context เป็นสภาวะแวดล้อมของผู้ป่วยขณะนั้น
Intrapersonal factor เป็นเหตุปัจจัยในตัวผู้ป่วยเอง
Stressors เป็นลักษณะของความกดดันที่เป็นสาเหตุทำให้เกิดปัญหา
วิธีการบำบัด
จิตบำบัดรายบุคคล คือจิตบำบัดแบบสั้น ผู้รักษาพยายามหาความหมายของการป่วย เทคนิคที่นิยมใช้คือ จิตบำบัดแบบประคับประคองและแสดงออก
ครอบครัวบำบัด วิธีนี้ไม่เน้นที่ตัวผู้ป่วยคนเดียว แต่จะมองผู้ป่วยและผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยเป็นระบบ
การบำบัดในภาวะวิกฤต เทคนิคที่ใช้บ่อยคือการแนะนำ การให้ความมั่นใจ
กลุ่มช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จะกระทำโดยให้ผู้ประสบเหตุที่คล้ายกันมารวมกลุ่ม โดยไม่มีผู้รักษาแบบมืออาชีพ
พฤติกรรมบำบัดรายบุคคล วิธีนี้แตกต่างจากจิตบำบัดรายบุคคล ทั้งทฤษฎีและเทคนิค วิธีนี้เหมาะกับผู้ป่วยที่มีพฤติกรรมเกเร
เป็นภาวะสุขภาพที่เกิดขึ้นหลังจากต้องเผชิญความกดดัน ทำให้เกิดความเครียดสะสม จนส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน การดำเนินโรคไม่นานเกิน 6 เดือน
ภาวะความผิดปกติทางด้านร่างกายเป็นผลมาจากจิตใจ (Somatic Symtoms and Related Disorders)
ระบาดวิทยาและการดำเนินของโรค
พบในผู้ใหญ่ร้อยละ 0.2-2 ของประชากร
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย 2-20 เท่า
จะมีอาการเป็นระยะๆครั้งละหลายเดือน
ลักษณะอาการและอาการแสดง
มีพฤติกรรมความรู้สึกที่มากเกินอาการทางกาย
อาการทางกายไม่ปรากฎอย่างต่อเนื่อง แต่ผู้ป่วยยังรู้สึกว่ายังมีอาการอยู่ พบมากกว่า 6 เดือน
มีอาการทางกายตั้งแต่ 1 อาการขึ้นไป ไปรบกวนชีวิตประจำวัน
สาเหตุ
พัฒนาการเรียนรู้
บุคลิกภาพ
พันธุกรรม
ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรม
การบำบัดทางจิต
การทำบำบัดชนิด Cognitive behavior therapy มุ่งความสนใจให้ผู้ป่วย
พฤติกรรมบำบัด นำทฤษฎีมีใช้ลดความวิตกกังวลและพยายามเลิกพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ผู้ป่วยจะมีอาการทางกายบางอย่างซึ่งเป็นอาการที่มีอยู่จริง ไม่ได้แกล้งหรือคิดไปเอง โดยอาการที่พบบ่อย ปวดท้อง ปวดหัว
การพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
2.การวนิจฉัยปัญหาทางการพยาบาล เช่น แบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง วิตกกังวลอย่างรุนแรง
3.การวางแผนการพยาบาล
ดูแลสุภาพตามความต้องการขั้นพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
มีภาวะการรับรู้การเจ็บป่วยของตนเองถูกต้อง
มีความวิตกกังวลลดลงและจัดการกับความขัดแย้งในใจได้
มีการเห็นคุณค่าและยอมรับนับถือในตนเองเพิ่มขึ้น
1.การรวมรวบข้อมูลทางการพยาบาล ทั้ง 11แบบแผน
4.การปฏิบัติการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพ
ดูแลอาการร่างกายโดยตั้งอยู่บนข้อเท็จจริง
ให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก
ช่วยผู้ป่วยให้ได้พัฒนาวิธีการเหมาะสมที่จะระบายความรู้สึก
จำกัดพฤติกรรมของผู้ป่วย
ให้การพยาบาลอย่างเสมอต้นเสมอปลาย
หันเหความสนใจของผู้ป่วยไปที่การเข้าร่วมกิจกรรมบำบัด
ไม่ตอกย้ำหรือตำหนิติเตียนเกี่ยวกับปัญหาของผู้ป่วย
5.การประเมินผลทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมวิตกกังวลลดลง
ผู้ป่วยมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคมอย่างเหมาะสม
ผู้ป่วยมีวิธีเผชิญปัญหาเหมาะสม
ผู้ป่วยมีสุขอนามัยและการดูแลกิจวัตรประจำวันได้
ผู้ป่วยมีสีหน้าที่แสดงถึงความสบายใจและมีความสุข
ผู้ป่วยสนใจในสิ่งแวดล้อมและร่วมมือทำกิจกรรมมากขึ้น
นางสาวณัฐนรี สวนจันทร์ เลขที่ 2 รหัสนักศึกษา 116312201003-1