Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปคู่มือบริหารจัดการสถานที่เกิดเหตุ, จัดทำโดย นายพิชัยยุทธ วรรณบวร รหัส…
สรุปคู่มือบริหารจัดการสถานที่เกิดเหตุ
ส่วนที่ ๑ คู่มือทีมบริหารจัดการสถานที่เกิดเหตุ
หน้าที่ของพนักงานสืบสวนหรือสอบสวนที่เข้าถึงที่เกิดเหตุเป็นคนแรก
บันทึก วัน เวลา ที่เข้าไปในที่สถานที่เกิดเหตุ
เข้าที่เกิดเหตุโดยหลีกเลี่ยงการกระทำที่อาจจะทำลายหลักฐานหรือวัตถุพยาน
รักษาสถานที่เกิดเหตุมิให้บุคคลที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปเป็นอันขาด
ถ้ามีผู้บาดเจ็บที่มีอาการหนัก จะต้องพยายามตามหน่วยรักษาพยาบาลที่เกี่ยวข้องหรือที่อยู่ใกล้ที่สุดเพื่อนำผู้บาดเจ็บไปรับการรักษาพยาบาลโดยเร็ว
ดำเนินการเกี่ยวกับผู้ตาย เมื่อมีศพควรพยายามที่จะไม่ทำการใดใดเกี่ยวกับศพ
รายงานผู้บังคับบัญชาที่รับผิดชอบ หรือผู้ร่วมงาน หรือแพทย์ผู้ชันสูตร เพื่อทำการชันสูตรและขอกำลังสนับสนุน
บันทึกเกี่ยวกับสภาพสถานที่เกิดเหตุ เช่น สภาพไฟฟ้าส่องสว่าง สภาพอากาศ ตลอดจนอาวุธที่พบในที่เกิดเหตุหรือที่พบศพ
ในบางครั้งอาจพบผู้ต้องสงสัยในที่เกิดเหตุ ให้ดำเนินการจับกุมหรือควบคุมตัวไว้ก่อน เพื่อป้องกันการหลบหนีหรือการทำลายหลักฐาน
สอบสวนผู้อยู่ในเหตุการณ์ไปพลางก่อน มีใครบ้างในที่เกิดเหตุตอนที่พนักงานไปพบ การถามให้ถามสั้นๆเท่านั้นเพราะหน้าที่หลักคือรักษาสถานที่เกิดเหตุ
มอบการรักษาที่เกิดเหตุให้พนักงานสอบสวน เพื่อจะรักษาต่อไปจนกว่าการชันสูตรหรือตรวจสถานที่
ส่วนที่ ๒ การบริหารจัดการสถานที่เกิดเหตุแยกตามประเภทอาชญากรรม
การตรวจสถานที่เกิดเหตุคดีเกี่ยวกับทรัพย์เช่น ลักทรัพย์ ชิงทรัพย์ และปล้นทรัพย์
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ
การจดบันทึก
การเขาตรวจสถานที่เกิดเหตุ
การถายภาพสถานที่เกิดเหตุ
การเก็บรวบรวมวัตถุพยาน
จัดทำรายงานผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุเกี่ยวกับทรัพยJ
จุดประสงค์เพื่อตรวจหาวัตถุพยานโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เพื่่อเชื่่อมโยงไปยังผู้กระทำผิด
การตรวจสถานที่เกิดเหตุคดีเกี่ยวกับชีวิต เช่น คดีฆาตกรรม พบศพ อัตวินิบาตกรรม หรือการเสียชีวิตโดยไม่ ทราบสาเหตุ
เพื่อต้องการทราบรายละเอียดว่า ผู้ตายเป็นใคร ตายในเวลาใดมีพฤติกรรมการตายอย่างไรใครทำให้ตาย มีวัตถุพยานใดในการเชื่อมโยงไปยังผู้กระทำผิด
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ
การจดบันทึก
การเข้าตรวจสถานที่เกิดเหตุ
การถ่ายภาพสถานที่เกิดเหตุ
การเก็บรวบรวมวัตถุพยาน
จัดทำรายงานผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุเกี่ยวกับทรัพ
การตรวจสถานที่เกิดเหตุในคดีอุบัติเหตุจราจร
ุจุดประสงค์
ตรวจพิสูจน์ว่าการเกิดอุบัติเหตุดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไร รถยนต์รถจักรยานยนต์คู่กรณีเกี่ยวข้องกันหรือไม่ อย่างไร ซึ่งลักษณะการเกิดอาจเกิดจากรถชนคนหรือรถชนรถ หรือแบบอื่น ๆ
เตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือ ที่จำเป็นต่อการตรวจ เช่นอุปกรณ์ช่วย ยกรถ ร่ม แถบกั้นสถานที่
การตรวจสถานที่เกิดเหตุ
การจดบันทึก
การเข้าตรวจสถานที่เกิดเหตุ
การถ่ายภาพสถานที่เกิดเหตุ
การเก็บรวบรวมวัตถุพยาน
จัดทำรายงานผลการตรวจสถานที่เกิดเหตุจราจร
ส่วนที่ ๓
ร่องรอยหลักฐานต่างๆการตรวจสอบหลักฐาน การเก็บหลักฐานจนถึงการหีบห่อหลักฐานเพื่อส่งตรวจพิสูจน์
การเก็บและการรักษาวัตถุพยาน แบ่งออกเป็น
วัตถุพยานประเภทลายนิ้วมือ
วัตถุพยานประเภทสารพิษ ยาเสพติด วัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท และสารระเหยรวมถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และอาหาร
วัตถุพยานทางชีววิทยา และ ดีเอ็นเอเลือด และของเหลวจากร่างกาย ตลอดจน เส้นผม เส้นขน ของคนและสัตว์
วัตถุพยานประเภทตรวจพิสูจน์เอกสาร การปลอมแปลงลายมือชื่อ ลายมือเขียน และตราประทับต่าง ๆ
วัตถุพยานประเภท อาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน เขม่าปืน วิถีกระสุนปืน วัตถุพยานที่เป็นชิ้นส่วนของการยิงปืน และร่องรอยเครื่องมือ ต่างๆ(TOOL MARK)
6.
6.1 วัตถุพยานที่เก็บจากสถานที่เกิดเหตุคดีเพลิงไหม้ เช่น สารน้ำมันเชื้อเพลิง หรืออุปกรณ์ไฟฟ้า
6.2 วัตถุพยานที่เก็บจากสถานที่เกิดเหตุคดีระเบิด ตลอดจนวัตถุพยานที่มี
ผลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม
6.3 วัตถุพยานที่ตรวจพิสูจน์ด้านเคมีและฟิสิกส์ เช่น เส้นใยดิน ต้นไม้ วัสดุก่อสร้าง กระจก แก้ว สี
วัตถุพยานประเภท เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ วัตถุพยานทางด้านเอกสารอิเลคทรอนิกส์ เช่น ภาพถ่าย วีดิโอ และอุปกรณ์ ทางด้านเสียง
จัดทำโดย
นายพิชัยยุทธ วรรณบวร รหัส 6312436013