Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาการปวดท้อง - Coggle Diagram
อาการปวดท้อง
-
-
-
-
-
การวินิจฉัยเเยกโรค
Infectious Diarrhea
ท้องเสีย
พยาธิสภาพ
เชื้อโรคจะก่อพยาธิสภาพ เป็น 2 เเบบ คือปล่อยสารพิษโดยตรง เเละการบุกรุกเข้าไปในเนื้อเยื่อเเล้วปล่อยสารพิษ
ซึ่งเมื่อเกิดการปล่อยสารพิษเข้าไปในเนื้อเยื่อเเล้ว ในช่วงเเรกขณะที่เกิดการอักเสบเป็นหย่อมๆตรงจุดที่เชื้อเกาะเเละปล่อยสารพิษ จะเกิดการทำลาย ทำให้มีลบกวนการดูดซึม ส่วน cytotoxic อุจจาระอาจจะมีเลือดปนบ้างบางครั้งเเละเกิดปวดเบ่งมาก ถ้าเกิดอาการอักเสบตรง rectosigmoid จะกระตุ้นลำไส้ใหญ่ให้บีบตัวเเละกล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักเปิด
-
อาการและอาการแสดง
ถ่ายอุจจาระเหลว ติดเชื้อเเบคทีเรีย จะถ่ายอุจจาระมีน้ำมากตลอด เมื่องดอาหารพวกเกลือเเร่น้ำตาลทางปากเเล้วก็ยังถ่ายมาก อุจจาระมีโซเดียมมากกว่า 80 มิลลิโมล/ลิตร มีลักษณะเป็นน้ำ ช่วงหลังๆถ่ายครั้งละน้อยๆ ปวดเบ่งเเละอุจจาระมีมูกเลือด
Food Poisoning
อาหารเป็นพิษ
สาเหตุ
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อโรคจำพวก S.aureus หรือ B. cereus หรือ C. perfringens ที่มีการปนเปื้อนในอาหาร โดยเชื้อโรคเหล่านี้จะมีการผลิตสารพิษ (enterotoxin) ที่ทนต่อความร้อนได้ดี เมื่อผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มี enterotoxin เข้าไปก็จะเกิดอาการของอาหารเป็นพิษตามมา
อาการและอาการแสดง
จะแสดงอาการภายใน 1-2 วัน ขึ้นอยู่กับประเภทและปริมาณของเชื้อที่ร่างกายได้รับเข้าไปโดยอาจมีอาการหลังรับประทานไม่กี่ชั่วโมงหรือนานเป็นสัปดาห์หากได้รับเชื้อรุนแรง โดยอาการป่วยของผู้ที่เผชิญภาวะอาหารเป็นพิษ มีดังนี้ รู้สึกพะอืดพะอม คลื่นไส้ อาเจียนติดต่อกันหลายครั้งหรืออาเจียนเป็นเลือด มีอาการปวดท้องแบบบิดเกร็งเป็นพักๆ เนื่องจากการบีบตัวของลำไส้ ถ่ายท้อง ถ่ายมีมูกหรือเลือดปน ไม่อยากอาหาร มีอาการสูญเสียน้ำ มีอาการทางระบบประสาท อาเจียนถี่หรืออาเจียนอย่างต่อเนื่องนานกว่า 12 ชั่วโมง ปวดท้องอย่างรุนแรงโดยอาการปวดไม่ลดลงหลังจากอุจจาระไปแล้ว
พยาธิสภาพ
เกิดจากการที่รับประทานอาหารที่มีการปนเปื้อน ขางสารหรือเชื้อโรคต่างๆ เมื่อสารพิษเข้าสู่กระเพาะอาหารเเละลำไส้ ซึ่งอาจจะเป็นลำไส้เล็กหรือล้ำไส้ใหญ่ขึ้นอยู่กับเชื้อ ทำให้การทำของงานของลำไส้ส่วนนั้นลดลง เช่นการดูดซึม การย่อยอาหารดังนั้น อาการส่วนใหญ่จึงเป็น ท้องเสียเป็นน้ำ
Appendicitis
ไส้ติ่งอักเสบ
-
อาการเเละอาการเเสดง
มีอาการปวดท้องอย่างเฉียบพลัน ที่บริเวณสะดือ ต่อมาย้ายไปปวดที่ท้องน้อยดายขวา เนื่องจากการอักเสบที่ลุกลามมากขึ้น
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
-
-
ภายในมีรูติดกับลำไส้ใหญ่ส่วนต้น ไส้ติ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของลำไส้ใหญ่ที่ฝ่อตัวลงเเละไม่ได้ทำงานในการย่อยเเละดูดซึมอาหาร เนื่องจากเป็นท่อขนาดเล็กปลายตัน เมื่อเกิดการอักเสบจึงทำให้เนื้อผนังไส้ติ่งเน่าเเละทะลุ
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสียสมดุลของสารน้ำเเละอิเล็กโตไลต์ จากการสูญเสียทางอุจจาระเนื่องจากการดูดซึมน้ำของลำไส้มีประสิทธิภาพลดลง
การพยาบาล
-
2.ประเมินภาวะขาดน้ำได้เเก่ การวัดสัญญาณชีพ สังเกตระดับความรู้สึก ปริมาณปัสสาวะ จำนวนครั้งเเละลักษณะอุจจาระ ความตึงตัวของผิวหนัง อาการตาลึกโหลเเละชั่งน้ำหนักวันละครั้ง
3.เเนะนำวิธีการเตรียม ORS ใช้เองที่บ้าน เช่น การใช้เเป้งข้าวเจ้า 2 ช้อนชา เกลือ 1/2 ช้อนชา ต้มในน้ำ 750 มิลลิลืตร เดือดนานประมาณ 5 นาที หรือใช้น้ำข้าวขวดกลมผสมเกลือ 1/2 ช้อนชา หรือใช้น้ำข้าวใส่เลกือพอปะเเล่มใช้เเทนก็ได้ (เมื่อหา ORS ไม่ได้)
ORS ที่ผสมน้ำในเเต่ละครั้งควรใช้ให้หมดภายใน 24 ชั่วโมง ถ้าไม่หมดควรทิ้งเเละผสมใช้ใหม่ เพระาอาจเป็นเเหล่งอาหารของเชื้อต่างๆ ควรใช้น้ำต้มสุกเย็นในการชงไม่ควรใช้น้ำร้อนเพราะคววามร้อนอาจทำให้เกืดปฏิกิริยากับเกลือเเร่บสงตัว
-