Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology and Homeostasis, 02 กูฟาตีเมาะห์ รอยา - Coggle Diagram
Pathology and Homeostasis
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพายธิวิทยา
พยาธิวิทยาทั่วไป (general pathology) ศึกษาธรรมชาติและกลไกการเกิดโรค
พยาธิวิทยาตามระบบ (systemic pathology) ศึกษาความผิดปกติของโครงสร้างและหน้าที่ในแต่ละระบบ
พยาธิวิทยา 2 สาขาหลัก
พยาธิวิทยาคลินิก (clinical pathology) : การวินิจฉัยโรค
พยาธิวิทยากายวิภาค (anatomical pathology) : การตรวจชิ้นเนื้อ
พยาธิสรีรวิทยา (pathophysiology) = กระบวนการ ขั้นตอน หรือกลไกที่ทำให้เกิดความผิดปกติของเซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ
การศึกษาทางพยาธิวิทยา
สาเหตุของโรคและความเจ็บป่วย
ความผิดปกติภายในร่างกาย
ภายนอกร่างกาย
โรคที่ไม่ทราบสาเหตุ
กลไกการเกิดโรค
ความรุนแรงของการสัมผัส
ตำแหน่งที่เกิดโรค
ระยะเวลา
ปริมาณของสาเหตุ
อาการและอาการแสดงของโรค
อาการ (symptoms) : ผู้ป่วยรับรู้ เล่าให้ฟัง
อาการแสดง (sign) : ตรวจร่างกาย
ภาวะแทรกซ้อนและผลของการเจ็บป่วย
ไม่สุขสบาย สมรรถภาพลดลง พิการ ตาย
การพยากรณ์โรค
การทำนายว่าโรคมีโอกาศหาย มีขีวิตยืนยาวเท่าใด
ระบาดวิทยา
การเจ็บป่วยของประชากร
ดุลยภาพของร่างกาย
ภาวะธำรงดุล สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างสมดุล ขึ้นอยู่กับสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอก
ในภาวะปกติร่างกายจะมีกลไกการปรับตัว
ปัจจัยภายในเซลล์ = สารพันธุกรรม
เซลล์บางชนิดสามารถปรับตัวเพื่อหลีกเลี่ยงการบาดเจ็บ =ภาวะ cellular adaptation
ปัจจัยภายนอก = อาหารและสารที่จำเป็น
ปรับตัวได้ดี = รักษาสิ่งแวดล้อมภายในร่างกายให้คงที่
การปรับตัวจะเปลี่ยนไปตามอายุ
วัยสูงอายุเกิดความเสื่อมของร่างกาย
4 ปัจจัยในการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
เซลล์สามารถสร้างสารและพลังงานเพียงพอ
เซลล์สามารถรักษาหรือควบคุมสมดุลชีวเคมีภายใน
เซลล์สามารถสร้างเซลล์เพิ่มเพื่อชดเชยหรือซ่อมแซม
เซลล์สามารถขับของเสียออกจากเซลล์
สมดุลน้ำ
2ใน 3 ของร่างกาย (~60%ของน้ำหนักตัว)
ภายในเซลล์ (intracellular fluid) ~40%
ภายนอกเซลล์ (extracellular fluid)
น้ำในหลอดเลือด (plasma)
น้ำในระหว่างเซลล์ (interstitial fluid )
น้ำควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ตัวทำละลาย และตัวกลางในการนำสารต่างๆ
ขับออกจากร่างกายได้หลายช่องทาง
ทางไต : ปัสสาวะ~600-1,500 cc
ผิวหนัง : ขับเหงื่อ ~2,000 cc
ลำไส้ : อุจจาระวันละ 200 cc ถ้าเสียมาก ทำให้เกิดการขาดน้ำ (dehydration)
ปอด: การหายใจ เสียน้ำ~400 cc
ใน1 วันจำนวนน้ำเข้าออกจะมีความสมดุล
การควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
มี 2 กลไก
กลไกควบคุมน้ำเข้า : โดยศูย์กระหาย (thirst center)
ของต่อมใต้สมอง
กลไกควมคุมน้ำออก : โดยฮอร์โมนแอนติไดยูริติก (ADH)
จากต่อมใต้สมองส่วนหลัง
เซลล์สมองและปนชระสาทขาดน้ำ เสียสมดุล K+ และ Na+ จะแสดงภาวะ dehydration
รับน้ำมากเกินไป ถ้าไตทำงานผิดปกติ = อาการบวม (water intoxication)
สมดุลอิเล็กโทรไลต์ (electrolyte balance)
อิเล็กโทรไลต์ : cation + และ anion- (Na+ K+ CL+ HCO3-)
Sodium : Na+
สำคัญในกระแสเลือด
มีอิทิพลต่อค่า osmolality
โซเดียมลดลงเร็ว เกิดภาวะสมองบวม
ค่าปกติในกรแสเลือด = 135-145 mEq/L
Potassium : K+
กำหนดค่า osmolality
เป็นตัวละลาย
ควบคุมสมดุลกรด-ด่างในร่างกาย
ช่วยในการทำปฏิกิริยาของเอนไซม์
ระดับในเลือดปกติ = 3.5-5.0 mEq/L
Chloride : Cl-
ค่าปกติในซีรัม 98-108 Molly/L
ควบคุมประจุน้ำนอกเซลล์
ควบคุมสมดุลน้ำ
ควบคุมกรด-ด่างในร่างกาย
ช่วยผลิตกรดเกลือในกระเพาะ(เปปซิโนเจน—>เปปซิน)
Bicarbonate : HCO3-
ค่าปกติ = 23-30 mEq/L
ภาวะเลือดเป็นกรด = acidosis
ภาวะเลือดเป็นด่าง = Alkalosis
อาการที่พบได้เมื่อเสียสมดุล : อ่อนเพลีย
สมดุลกรด-ด่าง
ประเมินจากค่า pH
ค่าph ปกติในร่างกาย = 7.25-7.45
ถ้า CO2เพิ่ม >เลือดเป็นกรด > ph ต่ำลง
กลไกทางไตช่วยควบคุมกรดด่าง
ปัสสาวะ ph=6
ขับเหงื่อเพื่อรักษา ph ให้คงที่
กลไกการรักษาสมดุลของร่างกาย (Homestatic mechanism)
Nervous system
Sensory portion,central nervous
Hormonal system
ACTH, TSH,ADH
ไต :ควบคุมระดับน้ำ แลอิเลกโทรไลต์
หัวใจ : ไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงไต
ปอด : ควบคุมระดับ CO2
ต่อมใต้สมอง : กระตุ้นการหลั่ง ADH
ต่อมหมวกไต : สร้างฮอร์โมน aldosterone
ต่อมพาราไทรอยด์ : สร้าง parathyroid hormone
ดุลยภาพของร่างกายกับการเจ็บป่วย
ปัจจัยทางพันธุกรรมและโรคทางพันธุกรรม
เพศ
อายุ
ปัจจัยทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและรูปแบบการดำเนินชีวิต
ภูมิประเทศและสภาพแวดล้อม
02 กูฟาตีเมาะห์ รอยา