Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษาที่1 ผู้คลอด G4P3-0-0-3 Last 2 ปี GA 41 สัปดาห์ - Coggle Diagram
กรณีศึกษาที่1
ผู้คลอด G4P3-0-0-3 Last 2 ปี GA 41 สัปดาห์
ผู้คลอดรายนี้มีโอกาสเกิดภาวะใด และทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะใด
ผู้คลอดเกิดภาวะรกค้าง/รกไม่ลอกตัวภายใน30นาที
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
การขาดกลไกการขับดันให้รกที่ลอกตัวแล้วผ่านออกมาภายนอก
รกลอกตัวแล้วแต่ไม่อาจผ่านออกมาจากโพรงมดลูกส่วนบนได้
รกลอกตัวแล้วและผ่านโพรงมดลูกออกมาอยู่ในช่องคลอด
การขาดกลไกการลอกตัว
รกปกติแต่มดลูกไม่มีการหดรัดตัวรกจึงไม่ลอกตัวหรือลอกตัวได้ไม่สมบูรณ์ :
รกผิดปกติถึงแม้มดลูกจะมีการหดรัดตัวได้ดีตามปกติแต่รกไม่สามารถลอกออกมาได้เนื่องจากภาวะรกติดplacenta adherens
สาเหตุส่งเสริม
การทำคลอดรกก่อนรกลอกตัวสมบูรณ์
เคยทำหัตถการที่ส่งเสริมทำให้เกิดรกค้าง
มดลูกมีลักษณะผิดปกติ
เคยมีประวัติรกค้าง
อาการและอาการแสดง
4.ตรวจรกพบว่ามีบางส่วนของเนื้อรกหรือ membranesขาดหายไป
3.มีเลือดออกเป็นจำนวนมากทางช่องคลอดภายหลังทารกคลอด
2.พบว่ามดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
1.ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัวหรือมีเพียงเล็กน้อยเมื่อทารกคลอดนานกว่า15-30นาที
5.มารดามีอาการกระสับกระส่ายชีพจรเบาเร็วตัวซีดเย็น เหงื่อออก ความดันโลหิตตำ่ ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ทารกขาดออกซิเจนแรกคลอดBirth asphyxia
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
2.โรคเบาหวาน
3.เลือดออกขณะตั้งครรภ์
1.อายุมากกว่า35ปีหรือน้อยกว่า16ปี
4.post term
5.ติดยาเสพติดหรือสุรา
7.การติดเชื้อ
8.การเจ็บครรภืคลอดยาวนาน
6.คลอดท่าก้นหรือส่วนนำผิดปกติ
9.meconium tick amniotic fluid
10.สายสะดือย้อย
อาการและอาการแสดง
1.ขณะคลอดพบขี้เทาในนำ้ครำ่
2.ระยะแรกคลอดทันทีApgar scoremตำ่กว่า8ในคะแนนที่1นาที
3.อาการขณะตั้งครรภ์ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ ถ้าติด fetal monitor จะพบlate deceleration,variable deceleration
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลด้านทารก เนื้อเยื่อร่างกายขาดออกซิเจนเนื่องจากทารกมีการสูดสำลักขี้เทาในนำ้ครำ่
3.รักษาความอบอุ่นในร่างกายเพื่อลดการใช้ออกซิเจน
4.บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจถ้าพบผิดปกติควรรีบรายงานแพทย์
2.ให้ออกซิเจนกับทารกตามแผนการรักษาโดยต้องให้ออกซิเจนผ่านนำ้สังเกตุอาการแทรกซ้อนจากการใช้ออกซิเจน
1.ช่วยดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง กระตุ้นการหายใจและจับทารกนอนหงายใช้หมอนรองใต้ไหล่ เพื่อให้ทางเดินหายใจตรง
5.สังเกตอาการ การขาดออกซิเจน เช่น ริมฝีปาก ปลายมือปลายเท้าเขียว หายใจปีกจมูกบาน หายใจออกมีเสียงคราง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลด้านมารดา
มีภาวะ
ตกเลือดหลังคลอดจากรก/เศษรกค้าง
1.ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาทีจนมีอาการปกติหลังจากนั้นบันทึกทุก 4 ชั่วโมงสังเกตระดับความรู้สึกตัวและอาการผิดปกติเช่นหน้ามืดใจสั่นเหงื่อออกตัวเย็นซีดเพื่อประเมินการตอบสนองของร่างกายต่อปริมาณเลือดที่ลดลงในระบบการไหลเวียนเลือด
4.ดูแลให้สารนำ้ 0.9% Normal SalineSolution(NSS)ปริมาณ1,000 ซีซีอัตราการหยด freeflow และ 5% dextrose in N/2 1,000 ซีซีที่ผสมยาsyntocinon 20 ยูนิต อัตราการหยด 120 ซีซีต่อชั่วโมงmethergin 0.2 มิลลิกรัม ฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
5.จัดท่าให้ผู้คลอดนอนราบตะแคงหน้าและให้ออกซิเจนชนิด mask with bag ปริมาณ 10 ลิตรต่อนาที
6.ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่างโดยใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้เพื่อไม่ให้ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก และบันทึกปริมาณปัสสาวะทุก 1 ชั่วโมง เพื่อดูการทำงานของไตถ้าเกิดภาวะช็อคปัสสาวะจะออกน้อยกว่า 30 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง
7.ให้เลือดตามแผนการรักษาเพื่อช่วยเพิ่ม
ปริมาณเม็ดเลือดแดง
8.เจาะเลือดดูค่าฮีมาโตคริตตามแผนการ
รักษา