Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ลัทธิปฏิบัตินิยม Pragmatism เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา - Coggle Diagram
ลัทธิปฏิบัตินิยม Pragmatism
เชื่อมโยงกับปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาลัทธิปฏิบัตินิยม
Pragmatism
ลักษณะ
ปฏิเสธความรู้ที่ได้จากการคิดหาเหตุผล (เหตุผลนิยม Rationalism)
ความรู้ได้มาจากประสบการณ์จากประสาทสัมผัสทั้ง 5
พัฒนามาจาก ปรัชญาลัทธิสัจนิยมเชิงธรรมชาติ
แนวคิด
การลงมือทำสร้างโอกาสที่จะสำเร็จเป็นจริง
อนาคตขึ้นอยู่กับการกระทำของมนุษย์
จักรวาลนี้เปิดกว้าง เปลี่ยนแปลง ไม่เคยหยุดนิ่ง
นักปรัชญา
วิลเลียม เจมส์ (William James)
(ค.ศ.1842-1910)
มนุษย์ควรยึดความคิดของตนเองในแง่ที่เป็น
ว่าจะมีประสิทธิภาพในทางปฏิบัติมากที่สุด
ยืนยันความคิดของเพิร์ซ
ว่าถูกต้องและนำไปใช้ได้ผลจริง
จอห์น ดิวอี้ (John Dewey)
(ค.ศ.1859-1952)
การศึกษา คือ ความเจริญงอกงาม
แนวทาง เรียนโดยการปฏิบัติ (learning by doing)
ชาร์ลส เอส. เพิร์ส(Charles S. Peirce)
(ค.ศ.1839-1984)
บิดาแห่งลัทธิปฏิบัตินิยม
ความรู้มาจากประสบการณ์
สาขา
ญาณวิทยา
ความรู้จะเกิดขึ้นได้ก็ด้วยการลงมือปฏิบัติ
กระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
คุณวิทยา
จริยศาสตร์
เป็นเสรีภาพของแต่ละคนที่เลือกปฏิบัติ
สุนทรียศาสตร์
อยู่ที่ความพอใจและการเลือกของแต่ละคน
ความต้องการและรสนิยมที่คนส่วนใหญ่ยอมรับกัน
อภิปรัชญา
เป็นสิ่งที่ผ่านการปฏิบัติด้วยการสังเกต พิสูจน์ ทดลอง
เป็นเหมือนเครื่องมือทางการปฏิบัติ ดังกระจกที่ส่องหาความจริง
เป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้ด้วยผลทางการปฏิบัติ
เป็นสิ่งเฉพาะและสัมพัทธ์ ไม่ตายตัว
ไม่จำเป็นต้องเป็นจริงอยู่ตลอดไปโดยไม่เปลี่ยนแปลง
ลัทธิย่อย
Instrumentalism
Progressivism
Experimentalism
ปรัชญาการศึกษาพิพัฒนาการนิยม
Progressivism
นักปรัชญาผู้นำแนวคิด
ฌอง ฌากส์ รุสโซ (Jean Jacques Rouseeau)
(ค.ศ.1712-1778)
เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว
ฟรานซิส ปาร์เกอร์ (Francis Parker)
(ค.ศ.1837-1902)
Laboratory School แห่งแรก
บิดาแห่งพิพัฒนาการนิยม
จอห์น ดิวอี้ (John Dewey)
(ค.ศ.1859-1952)
Learning by doing
Child Centered Curriculum
ฟรีดริช เฟลอเบล (Friedrich Froebel)
(ค.ศ.1782-1852)
บิดาการศึกษาปฐมวัย
การเรียนการสอนแบบเฟรอเบล (Froebelian Model)
จัดตั้งโรงเรียนอนุบาลแห่งแรกในประเทศเยอรมนี
โจฮันน์ ไฮน์ริค เปสตาลอสซี
(Johann Heinrich Pestalozzi)
(ค.ศ.1746-1827)
นำหลักการของรุสโซมาใช้
ครูต้องคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
แนวคิด
หลักสูตร
สามารถยืดหยุ่นได้
ใช้วิธีสอนให้เหมาะสมกับสภาพสังคม
เนื้อหาเน้นที่การบูรณาการทั้งเรื่องความรู้ ชีวิต สังคมและประสบการณ์ที่เด็กจะได้รับผนวกกันไปด้วย
ความรู้เน้นสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัว ทางกายภาพและเป็นรูปธรรมที่สามารถนำมาปรับใช้ในชีวิตจริงได้
มุ่งหมายที่จะเตรียมผู้เรียนเพื่อดำรงชีวิตในสังคมปัจจุบัน
การจัดการเรียนรู้
Learning by doing
Problem solving
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน
การจัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สถานศึกษา
จัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความคุ้นเคยและได้รับประสบการณ์ที่ดี
จัดแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ไม่ประจำที่เดิม ๆ
ส่งเสริมให้ผู้เรียนกิจกรรมกลุ่มและมีการทดลอง
ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากสถานที่จริง เพื่อให้เด็กมีประสบการณ์ตรง
กลุ่มวิชา
พลศึกษา
ศิลปะ
ภาษา
สังคมศึกษา
วิทยาศาสตร์
คหกรรม
การเกษตร
ตัวอย่างการจัดการศึกษาตามแนวคิดปฏิบัตินิยม
โรงเรียนสุจิปุลิ
พัฒนาเด็กอย่างเป็นองค์รวม
Whole Child Development
หลักสูตรฐานสมรรถนะ
การคิดขั้นสูงและการเรียนรู้
การสื่อสารด้วยภาษา
การจัดการและทำงานเป็นทีม
การเป็นพลเมืองที่แข้มแข็ง
การจัดการตนเองอย่างมีสุขภาวะ
การอยู่ร่วมกับธรรมชาติและวิทยาการอย่างยั่งยืน
จัดการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนรู้เชิงรุก
Active Learning
แนวคิดจากระบบการศึกษาของฟินแลนด์
การคิดเชิงออกแบบ
Design Thinking
แนวคิด 7 Habits
Put First thing First ทำสิ่งที่สำคัญที่สุดก่อน
Think Win Win คิดแบบ ชนะ-ชนะ คิดถึงคนอื่นก่อน
Begin With the end in Mind มีเป้าหมายชัดเจน
Seek First to Understand Then to Be Understood
พยายามเข้าใจคนอื่นก่อน
Synergize ทำงานเป็นทีม
Be Proactive เริ่มต้นลงมือทำ
Sharpen The Saw พัฒนาตนเองให้พร้อมอยู่เสมอในทุกด้าน
แนวคิด The Leader in Me
มิติการพัฒนาผู้เรียน
มิติความเป็นผู้นำ
มิติทักษะ
มิติวิชาการ
ตัวอย่าง โปรเจคหมูกระทะ
โรงเรียนรุ่งอรุณ
ศึกษาแบบองค์รวม (Holistic Learning)
การเรียนรู้จากการลงมือปฏิบ้ติจริง
Learning by doing
เพื่อให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติในสถานการณ์จริง
เพื่อส่งเสริมผู้เรียนที่แท้จริง (เรียนรู้ด้วยตนเองและพึ่งพาตนเอง)
วิธีการ
เรียนรู้จากกิจกรรมและกิจวัตรประจำวัน
การเรียนรู้จากการแก้ปัญหา
การเรยีนรู้จากการทำโครงงาน
การเรียนรู้ผ่านการวิจัยที่บูรณาการกับชีวิตจริง
การเรียนรู้จากการสื่อสาร
Communicative Learning
เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางสังคม
และการสร้างพันธมิตรการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
วิธีการ
การเรียนรู้จากกลุ่ม
สุนทรียสนทนา
การจัดการความรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่ชุมชน
การประชุมกลุ่ม
การทำแผนที่คนดี
การนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อแบ่งปันความรู้และความเข้าใจ
ในการสร้างองค์กรการเรียนรู้หรือชุมชนของการปฏิบัติ
การเรียนรู้อย่างลึกซึ้ง
Deeper Learning
วิธีการ
การเจริญสติเพื่อการรู้จักตนเอง
การสะท้อนตนเอง
การภาวนา
จริยศิลป์
การทำงานจิตอาสาเพื่อส่วนรวม
เพื่อส่งเสริมผู้เรียนที่ใช้ปัญญาเป็นฐาน
เพื่อส่งเสริมขีดความสามารถภายในของมนุษย์
ตัวอย่าง โครงานบ้านทุ่งหยีเพ็ง
สมรรถนะของผู้เรียน
การคิดด้วยระบบคุณค่า
การสื่อความหมายและการเรียนรู้ด้วยตนเอง
การเป็นผู้ประกอบการแบบร่วมมือกับผู้อื่น
การเข้าถึงระบบคุณค่าชีวิต
สำนึกความเป็นพลเมือง
การรู้เท่าทันสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ