Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารก ในระยะตั้งครรภ์ปกติ - Coggle Diagram
การประเมินภาวะสุขภาพของมารดาและทารก
ในระยะตั้งครรภ์ปกติ
การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
Presumptive signs
1.ขาดประจำเดือน 2.เต้านมขยาย คัดตึง 3.มีการเพิ่ม pigmentation ของผิวหนัง 4.คลื่นไส้ อาเจียน
2.Probable signs
1.ท้องขยายขนาดใหญ่ขึ้น 2.ตำแหน่งของยอด
มดลูกที่รกเกาะจะนุ่ม 3.บริเวณส่วนล่างของตัวมดลูกมี
ความนุ่มมาก 4.ตรวจได้ปากมดลูกนุ่มคล้าย
กับริมฝีปาก 5.สีของเยื่อบุช่องคลอดเปลี่ยนแปลง 6.ตรวจภายในพบว่ามดลูกขยายใหญ่ออกไปข้างหนึ่งคล้ายมดลูกโตไม่สม่ำเสมอ 7.ตรงกลางทางด้านหน้าของมดลูกมีความนุ่มมากเป็นพิเศษ 8.มดลูกยืดหยุ่นหัก
งอได้ 9.คลำได้ขอบเขตของทารก 10.การทดสอบการตั้งครรภ์ให้ผลบวก
3.Positive sign
1.Fetal Heart sound (FHS) ประมาณ 110 - 160 ครั้ง/นาที 2.ตรวจพบ Movement of the fetus 3.Ultrasound พบ Gestational sac.
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาทารก
การซักประวัติ การตรวจร่างกาย
1.ประวัติประจำเดือน 2.ประวัติทางสูติกรรมที่ผ่านมา 3.ประวัติความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์ 4.ประวัติเจ็บป่วยในอดีตและประวัติการผ่าตัด 5.ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว 6.ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
1.ดูท่าเดิน 2.วัดส่วนสูง ไม่ควรต่ำกว่า 145 cms 3.ชั่งน้ าหนัก 4.วัดความดันโลหิต ปกติไม่ควรเกิน
140/90 mmHg 5.ประเมินภาวะซีด 6.ประเมินอาการบวม 7.ตรวจสุขภาพปากและฟัน เหงือก 8.ดู และคลำ ต่อมไทรอยด์ 9.ฟังเสียงหัวใจและปอด 10.ตรวจเต้านม
1.อาการบวมเฉพาะที่ หมายถึง อาการบวมที่เป็นแห่งเดียว หรือข้างเดียว 2.อาการบวมทั่วไป หมายถึง อาการบวมทั้งตัวหรือบวมในหลายส่วน 3.การบวมกดบุ๋ม มี 4 ระดับคือ 1+ กดบุ๋มลงไป 2 มม. 2+ กดบุ๋มลงไป 4 มม. 3+ กดบุ๋มลงไป 6 มม. 4+ กดบุ๋มลงไป 8 มม.
การตรวจหัวนม
1.วิธีของวอลเลอร์ 2.การตรวจ Pinch test 3.ลักษณะหัวนม 4.การแก้ไขปัญหาหัวนมหรือลานนม 5.ดูเส้นเลือดขอด
การตรวจครรภ์
Fetal Ovoid คือลักษณะเด็กในครรภ์มารดา
ที่งอทุกส่วน มีขั้ว 2 ขั้วคือ Cephalic Pole ทางด้านหัว และ Caudal Pole ได้แก่ ก้นเด็ก
แนวล าตัวเด็ก (Lie) คือความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของตัวเด็กกับความยาวของช่องทางคลอดมี 2 ชนิด คือ 2.1 Longitudinal Lie 2.2 Transverse Lie
ทรงของเด็ก คือ ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเด็ก มี 2 ชนิด 1. Flexion Attitude 2. Deflexion Attitude
2.1 Sight Degree of Deflexion ศีรษะเด็กจะมีการ
เงยเพียงเล็กน้อย 2.2 Moderate Degree of Deflexion ศีรษะเด็กจะมีการเงยมากขึ้น 2.3 Marked Degree of Deflexion เด็กจะเงยหน้าเต็มที่จนแหงน
ส่วนนำ คือ ส่วนที่ต่ าที่สุดของเด็กที่อยู่ส่วนล่างของการคลอด หรืออยู่ใกล้กับปากมดลูก
5.ท่าของเด็ก คือ ลักษณะของเด็กที่อยู่ในครรภ์มารดา โดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่าง Denominator กับส่วนของช่องเชิงกรานของมารดา
6.Engagement หมายถึงการที่ทารกเอาส่วนที่กว้างที่สุด
ของส่วนน าเข้าไปใน Pelvic inlet
การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการแปลผล
Hct ปกติไม่น้อยกว่า 33% Hb ปกติไฺม่น้อยกว่า 11
กรัมเปอร์เซ็นต์ 2. Blood group ตรวจ ABO group และ Rh group 3. VDRL หรือ RPR เพื่อคัดกรองโรคซิฟิลิส 4.ตรวจ Anti HIV ตรวจเมื่อ ANC ครั้งแรก 5. HBsAg ตรวจเมื่อ ANC ครั้งแรกเพียงครั้งเดียวหรือในรายสงสัยมีการติดเชื้อตับอักเสบไวรัสบี 6.การตรวจหาความผิดปกติของเม็ดเลือดแดงที่เกี่ยวกับโรคธาลัสซีเมีย 7.การตรวจหาน้ าตาล 8.ตรวจปัสสาวะ
การคัดกรองภาวะเสี่ยงและการส่งต่อ
1.การประเมินครรภ์ครั้งแรก 2. การประเมินภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ ในการตรวจครรภ์ครั้งหลัง
OBSTETRIC HISTORY 2. CURRENT PREGNANCY 3. General medical conditions