Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ICD: บัญชีจําแนกโรคระหว่างประเทศ - Coggle Diagram
ICD: บัญชีจําแนกโรคระหว่างประเทศ
ICD คืออะไร
ICD มีประโยชน์อย่างไร
2 เวชสถิติ
1 ระบาดวิทยา
3 การวางแผนยุทธศาสตร์
4 การเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล
1 การจัดหมวดหมู่ของโรคและปัญหาสุขภาพต่างๆที่พบในมนุษย์
2 ระบบรหัสโรคและรหัสปัญหาสุขภาพ
ลักษณะของรหัส ICD-10
-เป็นรหัสตัวอักษรผสมตัวเลข
-แต่ละรหัสขึ้นต้นด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ไหญ่ ตั้งแตแต่ A -Z ตามด้วยตัเลขอารบิก 2-4 หลัก ระหวางหลักที่3 และ 4 มีจุดคั่น เช่น A00.9 , B35.4
หลักการจัดรหัส ICD-10
จัดขั้นที่1
: ตามลักษณะผู้ป่วย : O = หญิงตั้งครรภ์ , คลอดบุตร,หลังลอด P=ทารกแรกเกิด
จัดขั้นที่2
ตามสาเหตุ : A,B= โรคติดเชื้อ , O= พิการแต่กำเนิด , C,D= เนื้องอก - มะเร็ง , S,T= การบาดเจ็บ
จัดตามระบบอวัยว
ะ : I =หัวใจแลหลอดเหลือด , J= ระบบหายใจ , K= ระบบทางเดินอาหาร ,G= โรคระบบประสาท , H00-h59= โรคตา , H60-H95 = โรคหู คอ จมูก , D50-D89 = โรคเลือด
กรณีอื่น
: R= วินิฉัยโรคไม่ได้ , Z=บริการสุขภาพ , V,W,X,Y=สาเหตุจากภายนอก , U= รหัสพิเศษ
การจัดบทรหัส ICD-10
A00-B99
: โรคติดเชื้อและปรสิตบาง
โรค
C00-D48
: เนื้องอก
D50-D89
: โรคของเลือดและอวัยวะสร้างเลือดและความผิดปกติบางอย่างของกลไกลภูมิคุ้มกัน
H00-H59
: โรคของตาและอวัยวะเคียงลูกตา
กลุ่มรหัสและสมาชิกกลุ่ม
ในกลุ่มรหัสที่มีสมาชิกกลุ่ม ให้ใช้รหัสสมาชิกกลุ่มเท่านั้น ห้ามใช้รหัสกลุ่ม จะมีสีดำป้ายที่เลขรหัสกลุ่มแสดงว่าเป้นรหัสที่งดใช้ เช่น R10 Abdominal and pelvic pain
ในกลุ่มรหัสที่ไม่มีสมาชิกกลุ่ม ให้ใช้รหัสกลุ่มได้ กรณีนี้จะมีกรณีจะมีกรอบสี่เหลี่ยมล้อมเลขรหัสกลุ้ม แสดงว่าเป็นรหัสที่ใช้ได้ เช่น R05:Cough , R12:Heartburn , R13: Dysphagia
ในกลุ่มรหัสที่มีสมาชิกกลุ่ม ให้ใช้รหัสสมาชิกกลุ่มเท่านั้น ห้ามใช้รหัสกลุ่มเช่น Intertinal infectionus diseases(A00-A09)
มาตรฐานการให้รหัส ICD-10-TM for PCU
ผู้มารับบริการบำบัดรักษาความเจ็บป่วย
ให้รัสโรคที่ทำให้เกิดอาการสำคัญ เป็นรหัสวินิฉัยหลัก
ให้รหัสโรคที่เหลือทั้งหมดเป็นรหัสโรคอื่น โดยไม่จกัดจำนวนรหัส
ให้รหัสหัตการเพื่อการบำบัดรักษา ไม่ต้องให้รหัสหัตถการเพื่อการชันสูตร
มาตรฐานการบันทึกข้อมูลในผู้
รับริการบําบัดรักษา
ความเจ็บป่วย
บันทึกอาการสำคัญ และระยะเวลาที่เกิดอาการนั้น เช่น เป้นไข้1 วัน ปวด ท้อง 2 ชั้วโมง เป็นแผลที่น่องข้างขวา 30 วินาที เป็นต้น
หากผุ้ป่วยมีโรคประจำตัว หรือโรคเรื้อรังให้บันทึกโรคเหล่านั้นจนครบทุกทุกโรค
บันทึกผลการตรวจร่างกายทั้งหมดที่ได้ตรวจไว้
ในผู้รับบริการติดตามหลังการรักษา ผู้ป่วยนัดตรวจโรคเรื้อรัง
บันทึกบริการติดตามหลังการรักษาเป็นหลัก เช่น ตรวจหลังการเย็บแผล 7 วัน , ทำแผลต่อเนื่องจาก รพ.
หากผู้ป่วยมีโรคประจำตัวหรือ โรคเรื้อรังให้บันทึกโรคเหล่านั้นจนครบทุกโรค
บันทึกผลการตรวจร่างกายทั้งหมดที่ได้ตรวจไว้
บันทึกหัตการเพื่อการบำบัดโรคที่เกิดขึ้น
บันทึกชื่อยา จำนวนยา และวิธีการใช้ยาทั้งหมดที่ปชผู้ป่วยไดรับ
ในผู้รับบริการส่งเสริสุขภาพ
ให้รัสโรคประจำตัวหรือโรคเรื้อรังผู้มารับบริการเป็นรหัสโรคอื่นๆ
ไม่ต้องให้รหัสการแนะนำต่างๆ
ผู้ป่วยที่ขอใบส่งตัวและกรณีอื่นๆ
ถ้าผู้มารับบริการกลุ่มนี้เป็นผู้ป่วยที่ ส่งต่อไปรักษาที่อื่น ผู้บันทึกข้อมูลจะต้อง ระบุโรคที่ ส่งต่อเป็นหลัก แต่ถ้าเป็นกรณีอื่น ๆให้บันทึกบริการที่ผู้มารับบริการ ร้องขอเป็นหลัก ดังแนวทางต่อไปนี้
ก. บันทึกโรคทีส่งต่อเช่น ส่งต่อไปรักษาโรคไส้เลื่อนที่ขาหนีบข้างขวา
ข. หากวินิจฉัยโรคไม่ได้ใหบันทึกอาการที่ส่งต่อเช่น ก้อนที่ ขาหนีบข้างขวา
ค. กรณีอื่นๆให้บันทึกบริการ ที่ผู้มารับบริการร้องขอเช่นออกใบรับรองแพทย์เพื่อไปสมัครเรียนว่ายน้ำ