Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพิษวิทยา, image, image, image, image, นายจง จึงสกุล…
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพิษวิทยา
ความหมายและความสำคัญของพิษวิทยา
การศึกษาผลกระทบของสารเคมีต่อสิ่งมีชีวิต การศึกษาผลเสียของสารพิษ หรือ สิ่งที่ทำให้เกิดพิษที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต
poison หรือ toxic agent สารพิษ
Toxicity ความเป็นพิษ
Risk อัตราความเสี่ยง
Hazard อันตราย :
Safety ความปลอดภัย
หน่วยการที่เกี่ยวข้องในการควบคุมด้านพิษวิทยา
กรมโรงงานอุตสาหกรรม
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
กรมการแพทย์
คณะกรรมการอาหารและยา
การแบ่งประเภทสารพิษ
แบ่งตามอวัยวะเป้าหมาย การใช้ประโยชน์ แหล่งที่มาและผลที่เกิดแก่ร่างกาย
แบ่งตามสภาวะทางกายภาพ ฉลาก คุณสมบัติทางเคมีและระดับความเป็นพิษ
แบ่งตามกลไกทางเคมีของการทำปฏิกิริยาในร่างกาย
แบ่งตามลักษณะการก่อปัญหา เช่น ทางอากาศ ประกอบอาชีพ
UN Class
การขนส่งสินค้าอันตรายและรายละเอียดเกี่ยวกับประเภท, การจำแนกสารที่เป็นอันตรายสำหรับการส่งสินค้าระหว่างประเทศ
GHS
สารเคมีอันตรายทุกชนิด สารละลายเจือจาง (dilution) และของผสม (mixture) ของสรเคมี แต่ไม่เกี่ยวข้องกับ เภสัชภัณฑ์ (ยารักษาโรค) สารเติมแต่งในอาหาร (Food additives) เครื่องสำอาง และสารป้องกันกำจัดศัตรูพืชที่ตกค้างอยู่ในอาหาร (Pesticide Residues in Food)
ปฏิกิริยาระหว่างสารเคมีในร่างกาย
LD50 (Lethal Dose fifty) : ปริมาณ (dose) ของสารเคมีซึ่งคาดว่าจะทำให้สัวต์ทดลองที่ได้รับสารนั้นเพียงครั้งเดียว ตายไปเป็นจำนวนครึ่งหนึ่ง(50%) ของจำนวนเริ่มต้น LD50 เป็นค่าที่คำนวณได้จากผลการศึกษา ซึ่งให้สัตว์ทดลองหลายกลุ่มได้รับสารเคมีที่ปริมาณต่าง ๆ กัน ระยะเวลาที่เฝ้าสังเกตการตายของสัตว์
ปฏิกิริยาระหว่างสารเคมีในร่างกาย
ก่อผลร่วมกัน
ก่อผลเสริมฤทธิ์หรือเท่าทวีคูณ
ชักนำให้เกิดฤทธิ์
ต้านฤทธิ์กัน
ลักษณะการเกิดพิษที่มีผลกระทบต่อร่างกาย
Acute toxicity เฉียบพลัน
Chronic toxicity เรื้อรัง
ประวัติความเป็นมาของพิษวิทยา
พิษวิทยาในยุคโบราณ
พิษวิทยาสมัยกลาง
มีการนำเอาสารพิษมาทดลองและศึกษากันมากในประเทศอิตาลีโดยทดลองกับนักโทษ
พิษวิทยาสมัยรุ่งเรือง
พาราเซลซัสยังถูกยกย่อง ให้เป็นบิดาทางด้านวิชาพิษวิทยา เพราะเขากล่าว ไว้ว่า ไม่มีสารใดในโลกที่เป็นพิษและไม่มีสารใดในโลกที่ไม่เป็นพิษ แต่ขึ้นอยู่กับว่าเราใช้ถูกวิธีถูกปริมาณหรือไม่ นอกจากนี้เขายังได้สกัดสารส่วนสำคัญของสมุนไพรที่ใช้ในการรักษามาให้อยู่ในรูปแบบของทิงเจอร์อีกด้วย ถือเป็นการปฏิวัติทางด้านเภสัชกรรมในสมัยนั้น
นายจง จึงสกุล 64932111012