Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีการติดเชื้อ ทางเพศสัมพันธ์ (Sexual transmitted…
การพยาบาลมารดาและทารกที่มีการติดเชื้อ
ทางเพศสัมพันธ์
(Sexual transmitted infections)
โรคติดเชื้อซิฟิลิส (Syphilis)
ซิฟิลิสที่ได้รับเชื้อภายหลัง
Early infection stage
Primary เป็นแผลริมแข็ง (Hard chancre)
Second เป็นผื่นผิวหนังเป็นทั่วร่างกาย ผื่นแดงกระจายมีสะเก็ดสีขาวลอกคล้ายกลีบกุหลาบ เรียกว่า Roseola Syphilitica โดยที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า , มี Condyloma lata โดยเฉพาะที่ฝีเย็บ เป็นลักษณะผื่นนูนหนา , มีผมร่วงเป็นหย่อม ๆ (Alopecia)
Early latent (ระยะ latent ไม่เกิน 1 ปี)
Latent syphilis
Late latent stage (ระยะ Latent ที่เกิน 1 ปี) การทดสอบน้ำเหลืองให้ผลบอกไม่มีอาการ
Tertiary (ผิวหนังและเยื่อบุ , กระดูก ข้อ กล้ามเนื้อ , อวัยวะภายใน)
Cardiovascular
Neurosyphilis
ซิฟิลิสโดยกำเนิด
Early เกิดใน 2 ปีแรกหลังคลอด
Late เกิดหลังจาก 2 ปีแรก
Stigma ร่องรอยแผลเป็น
อาการ
เกิดการอักเสบทั่วร่างกาย ผิวหนังอักเสบ กระดูกผุ หัวใจเเละหลอดเลือดโป่งพอง เยื่อบุสมองอักเสบและเสียชีวิต
ผลกระทบ
แท้งบุตร , Preterm labor, ทารกตาย , ทารกพิการตั้งเเต่กำเนิด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Nontreponema test > VDRL ถ้าตรวจแล้วผลเป็น non reactive ต้องตรวจซ้ำเมื่อ GA 28-32 wks. , RPR ,Toluidine red unheated serum test ให้ผลเป็น บวก Reactive ต้องทำการยืนยันด้วยวิธี THHA อีกครั้ง ถ้าผลบวกแสดงว่าติดเชื้อ
Treponema test > ตรวจหา Antibody ที่จำเพาะต่อเชื้อ ได้แก่ THHA ให้ผลบวก Reactive
การรักษา
นำคู่นอนมารักษาด้วย
ระยะ Primary,Second และ Early ให้ Benzatine penicillin G2.4 ล้านยูนิตฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพก
, ระยะ Late Latent รักษาด้วย Benzatine penicillin G2.4 ล้านยูนิตฉีดเข้ากล้ามเนื้อสะโพก 3 สัปดาห์ติดต่อกัน
ครบ 6 และ 1 เดือน ตรวจ VDRL Titer ซ้ำถ้าเพิ่มขึ้น 4 เท่า หลังการรักษา แสดงว่าไม่หาย ต้องรักษาใหม่
โรคติดเชื้อหนองใน (Neisseria Gonorrheae)
เข้าสู่ร่างกายผ่านทางเยื่อเมือกต่าง ๆ ของอวัยวะสืบพันธ์ุส่วนล่าง มารดาแพร่เชื้อไปยังทารกผ่านทางแผลถลอกหรือเยื่อเมือกโดยเฉพาะบริเวณตา
อาการ
อักเสบของปากมดลูกและช่องคลอด , ตกขาวเป็นหนองข้น , กดเจ็บบริเวณต่อมบาร์โธลิน , ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะกระปริดกระปรอย เป็นหนองข้น
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เก็บน้ำเหลืองหรือหนองมาตรวจ Gram stain smear
การรักษา
กรณีไม่มีภาวะแทรกซ้อน : ให้ Ceftriaxone 500 mg. IM ครั้งเดียว + Azithromycin 1 gm. ทานครั้งเดียว
กรณีติดเชื้อและมีภาวะแทรกซ้อนเฉพาะที่ : ให้รักษาเหมือนไม่มีภาวะแทรกซ้อน
ติดเชื้อและมีภาวะแทรกซ้อนแบบแพร่กระจาย ให้ Ceftriaxone 1-2 gm. Vein OD. จนอาการดีขึ้นเปลี่ยนยาทาน Cefixime 400 mg. วันละ 2 ครั้ง ต่อเนื่อง 7 วัน + Azithromycin 1 gm. ทานครั้งเดียว
หากมีภาวะ Meningitis/Endocarditis ให้ Ceftriaxone 1-2 gm, Vein q 12 hr. + Azithromycin 1 gm. ทานครั้งเดียว (Meningitis รักษาต่อเนื่อง 10-14 วัน
ถ้า Endocarditis รักษาต่อเนื่อง 4 wks.)
โรคติดเชื้อเริม (Herpes Simple)
HSV-1 สาเหตุเริมที่ปาก
HSV-2 สาเหตุเริมที่อวัยวะเพศ เข้าสู่ร่างกายทางเเผลหรือเยื่อบุ
อาการ
ติดเชื้อปฐมภูมิ : เกิดอาการ 3-7 วันหลังสัมผัสเชื้อ จะมีอาการปวดเเสบปวดร้อน คันบริเวณที่สัมผัส
กับโรค และมีตุ่มนำ้ใส ๆ แตกเป็นแผลจนกลายเป็นแผลตกสะเก็ด
ติดเชื้อซ้ำ : มีอาการเหมือนกับติดเชื้อปฐมภูมิ
ผลกระทบ
มารดา : เสี่ยงต่อการเเท้ง การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ทารก : IUGR , Preterm baby , พิการแต่กำเนิด , เสียชีวิต
การรักษา
รักษาตามอาการ คือรับประทานยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะ และล้างแผล ถ้ามีอาการรุนแรงให้ Acylovir 200 mg. รับประทาน 5-7 วัน
พบรอยโรคขณะคลอด : ติดเชื้อครั้งแรก/ติดเชื้อซ้ำ ให้คลอดโดย C/S และเฝ้าระวังทารก
โรคหูดหงอนไก่ (Codyloma)
ติดต่อโดยการสัมผัสรอยโรค โดยเฉพาะทางเพศสัมพันธุ์
อาการ
เป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่ มักพบบริเวณที่มีการอับชื้น โดยเฉพาะปากช่องคลอด
ผลกระทบ
ขัดขวางทางช่องคลอด เกิดการตกเลือดหลังคลอด มีโอกาสเกิดมะเร็งปากมดลูก และทารกอาจติด
เชื้อหูดหงอนไก
การรักษา
85% Trichloracetic acid หรือ Bichloroacetic acid ทาทุก 7-10 วัน + จี้
Laser หรือ Cryosurgery หรือ Electrocoagulation with curettage
ถ้าหูดมี
ขนาดใหญ่พิจารณา C/S
ป้ายตาทารกด้วย 1% Tetracycline ointment
เฝ้าระวังการติดเชือทารกแรกเกิด ได้แก่ มีไข้อ่อนเพลีย ดูดนมไท่ดีตัวเหลือง ชัก หากทารกสัมผัสเชื้อควรเเยกทารก
หากมารดาไม่มีแผลบริเวณหัวนมสามารถ Breast Feeding ได้
โรคติดเชื้อเอช ไอ วี (HIV)
เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน
ผลกระทบ
มารดา : ปริมาณ Viral load มาก เเพร่กระจายไปทารกมาก , ระดับจำนวน CD 4 น้อย
กว่า 700 cell/ML ทารกติดเชื้อได้มาก
ทารก : เกิดการคลอดก่อนกำหนด
อาการ
ระยะแรกเริ่มของการติดเชื้อ HIV มีไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น ต่อมน้ำเหลืองโต
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ : สามารถแพร่กระจายเชื้อได้กินเวลาประมาณ 5-10 ปี
ระยะติดเชื้อมีอาการ : มีไข้เป็นพัก ๆ มากกว่า 38 องศาเซลเซียส ท้องเดิน น้ำหนักลด ต่อมน้ำเหลืองโต พบเชื้อราในปาก หรือฝ้าขาวในช่องปาก
ระยะป่วยเป็นเอดส์ : มีไข้ผอม ต่อมน้ำเหลืองโต ซีด ช่องปากเป็นฝ้าขาว แผลเริมเรื้อรัง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจเชื้อ HIV : ตรวจ โปรตีน p24 ด้วย เทคนิค NAT
ตรวจหา Antibody ต่อเชื้อ HIV ด้วยวิธี ELIZA ถ้าผล +ve แสดงว่าติดเชื้อ
ตรวจนับ CD4 Lymphocyte และ ปริมาณ Viral load
การรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์และความเสี่ยง
แนะนำให้มารดามาฝากครรภ์ตามนัดทุกครั้ง
ประเมินภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาต้านไวรัส : ด้านมารดา > ปวดศีรษะ มีความผิดปกติทางโลหิต
วิทยา คลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหาร เหนื่อยง่าย , ย ด้านทารก > กดการทำงานไขกระดูก IUGR
งด Breast Feeding เพราะเป็นการเพิ่มการแพร่กระจายเชื้อ
แนะนำใส่เสื้อชั้นในที่คับ
เพื่อยับยั้งการสร้างและการหลั่งน้ำนม
แนะนำการนำทารกมาตรวจเลือดเมื่อทารกอายุ 15-18 เดือน มารับภูมิคุ้มกันโรคตามปกติยกเว้นรายที่มีอาการ
งดให้ภูมิคุ้มกันแบบ live vaccine
เช่น BCG MMR