Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะทางสุขภาพ (ในชุมชน) - Coggle Diagram
การประเมินภาวะทางสุขภาพ (ในชุมชน)
การประเมินภาวะทางสุขภาพ (ในชุมชน)
ข้อมูลที่ใช้ในการประเมินสุขภาพชุมชน
1) ข้อมูลทั่วไปของชุมชน
2) ข้อมูลด้านประชากรและโครงสร้างของประชากร
3) ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม
4) ข้อมูลทางด้านสุขภาพ
5) ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ
6) ข้อมูลด้านบริการสุขภาพ
ขั้นตอนในการประเมินภาวะสุขภาพชุมชน
ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับชุมชน
การเลือกเครื่องชี้วัด (Indicators) ในการประเมินสถานการณ์ของชุมชน
การเลือกวิธีการเก็บข้อมูล การเตรียมเครื่องมือ และการเลือกแหล่งที่มาของข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ และการแปลผล
การระบุปัญหาสุขภาพ
เครื่องมือที่ใช้ในการเรียนรู้ชุมชุน
แผนที่
ผังเครือญาติหรือแผนผังครัวเรือนในชุมชน
โครงสร้างองค์กรณ์ชุมชน
ระบบสุขภาพชุมชน
ปฏิทินชุมชน
การรวบรวมข้อมูล
แหล่งที่มาของข้อมูล
ข้อมูลปฐมภูมิ
ข้อมูลทุติยภูมิ
ลักษณะของข้อมูล
ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ข้อมูลเชิงปริมาณ
ครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลชุมชน
แผนที่เดินดิน (Foot map)
ผังเครือญาติ (Family tree)
โครงสร้างองค์กรชุมชน (Community organization structure)
4.ระบบสุขภาพชุมชน (Community health care system)
ปฏิทินชุมชน (Community calendar)
ประวัติศาสตร์ชุมชน (Community history)
ประวัติชีวิต (Life history)
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
กำหนดวัตถุประสงค์
สร้างเครื่องมือ
การเตรียมผู้เก็บข้อมูล
การเตรียมชุมชน
5.กำหนดจำนวนประชากร
การนำเครื่องมือไปเก็บรวบรวมข้อมูล
การบันทึกข้อมูล
เครื่องมือและเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1.แบบสอบถาม
2.แบบสังเกต
3.แบบทดสอบ
4.แบบสัมภาษณ์
5.การสนทนากลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อมูล
1.การตรวจสอบแก้ไขข้อมูลเบื้องต้น
2.การแยกประเภทของข้อมูล
การแจกแจงข้อมูล
4.ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล
1.บทความ
2.บทความกึ่งตาราง
3.ตาราง
4.แผนภูมิวงกลม
5.แผนภูมิแท่ง
6.แผนภูมิปิรามิด
7.กราฟเส้น
8.ฮีสโตแกรม (histogram)
9.รูปหลายเหลี่ยมความถี่
10.แผนภาพ
การระบุปัญหาในชุมชน
วิธีการะบุปัญหา
จัดกลุ่มข้อมูลเพื่อกำหนดปัญหา
การกำหนดปัญหา
3.การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
การระบุปัญหามีกี่แบบ
ใช้หลัก 5 D
เปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือค่ามาตรฐานสากล
กระบวนการกลุ่ม
พิจารณาได้จากอะไรบ้าง
1.ลักษณะของปัญหา
พิจารณาตามสาเหตุของการเกิดปัญหาโดยใช้หลักวิทยาการระบาด
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
วิธีอิงกลุ่ม (Nominal group)
วิธีอิงกลุ่ม (Criteria)
1) ขนาดของปัญหา
2) ความรุนแรง
3) ความยากง่ายในการแก้ปัญหา
4) ความตระหนักในปัญหาของชุมชน
วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
การวิเคราะห์ข้อมูล
จัดข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ด้วยการแจกแจง
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์หาค่าความถี่ (frequencies)
การวิเคราะห์รายละเอียดของข้อมูล