Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคทางระบบหายใจที่พบได้บ่อย - Coggle Diagram
โรคทางระบบหายใจที่พบได้บ่อย
LOWER RESPIRATORY
TRACT INFECTION
ACUTE BRONCHITIS
แบ่งเป็น 2 ระยะ
ระยะแรก 1-5 วัน
มีอาการไอ และอื่นๆข้ึนกับเชื้อแต่ละชนิด อาจจะ มีไข้เหนื่อยปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลียเจ็บคอ คัดมูก
ระยะที่สอง 5-20 วัน
จะมีอาการไอ เสมหะ จาก bronchial hypersensitivity
การรักษา
ให้ education, β2-agonist ในรายที่มี wheezing, antitussive (dextromethorphan, codeine) ใช้เฉพาะในรายที่ไอมาก
รักษาจาเพาะในรายที่สงสัย pertussive ให้ ATB กลุ่ม macrolide (เช่น azithromycin 500 mg ใน D1 และ 250 mg/d ใน D2-5)
ในรายที่เป็น influenza มาภายใน 48 ชั่วโมง ให้ Oseltamivir 75 mg PO BID x 5 วัน
มักจะมีการให้ ATB ในกลุ่มเสี่ยง เช่น อายุ > 65 ปี , smoking, DM, CHF, on steroid เป็นต้น
PNEUMONIA
การวินิจฉัยแยกโรค
Community-acquiredpneumonia
(ปอดอักเสบชุมชน)คือ
ผูป่วยท่ีไม่ได้รับเชื้อจากในการดูแลในสถานพยาบาล (ไม่ได้อยู่ในรพ.เกิน 14 วันแล้ว)
CXR
ใช้ในการประเมิน risk ได้แก่ CBC, BUN, Cr, electrolytes, glucoseซึ่งไม่จำเป็นถ้า อายุ< 50ปีและมีอาการ เล็กน้อย
Sputum
G/S , C/S, H/C
การรักษา
Macrolide
clarithromycin 1,000 mg/d x7d
Azithromycin 500 mg d1, 250 mg d 2-5
OPD case with significant comorbidity
ex. heart, lung, kidney, liver, DM, alcoholism
ได้ATBภายใน90วัน:Fluoroquinolone
Levofloxacin 750 mg/d for 5d
Moxifloxacin 400 mg/d for 7-14d
Betalactam (Augmentin 2 gm bid) + Macrolide
INFLUENZA BRONCHITIS
การวินิจฉัยแยกโรค
ระยะฟักตัว 1-4 วันเริ่มแพร่เชื้อได้ตั้งแต่24ชั่วโมงก่อนเริ่มมีอาการถึง3-5วัน (หรือ>10วัน ในเด็ก
ส่วนใหญ่ติดต่อทางการสัมผัสและทาง droplets ระยะห่าง < 1 เมตร(airborne ติดต่อได้ แต่น้อย)
ไข้เฉียบพลันไอเจ็บคอคัดจมูกน้ำมูกไหล ปวดเมื่อยตามตัวปวดศีรษะ
ส่วนใหญ่จะมีอาการ3-7วัน ยกเว้น อาการไออ่อนเพลียเป็นได้> 2สัปดาห์
การรักษา
nasal swab (IFA) ช่วงระบาดแนะนำให้ตรวจ ในรายที่ admit, high-risk
ไม่ได้อยู่ในช่วงระบาด พิจารณาตรวจในรายที่มีอาการมาภายใน 5 วัน
Tx: Antiviral
รายท่ีมีอาการรุนแรง หรือ กลุ่มเสี่ยง หรืออาจพิจารณาในคนที่ไม่ใช่กลุ่มเสี่ยง ถ้ามาภายใน 48 ชั่วโมง
SHOCK
การรักษา
Specific Treatment
จัดการสาเหตุต้นตอเช่น ผ่าตัด/ห้ามเลือด/ให้ย าปฏิชีวนะหรือยาอื่นๆ
Supportive Treatment
Cardiovascular support, Respiratory support,Metabolic support,Early Dx and Rx of complication เช่น Acute renal failure
การจำแนกภาวะshock
Hypovolemic Shock
เกิดข้ึนเมื่อ volume ในระบบไหลเวียนโลหิตลดลง เช่น Acute hemorrhage ,Water and electrolyte loss,Burn
การรักษา
ให้สารน้ำและ electrolytes ชดเชย
ดูแลเรื่อง Ventilation and oxygenation +/- ET tube& Ventilator
ยา Vasopressor เช่น Dopamine, Norepinephrine
Cardiogenic Shock
อาการ
การตรวจพบ เช่น engorged neck vein, CVP สูง
มีอาการเจ็บหน้าอก , มีการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ หรืออาจมีเสียงที่ปอดผิดปกติ
การรักษา
ให้ยา antiarrhythmicdrugในรายหัวใจเต้นผิดจังหวะ
diuretic ในราย fluid overload
ผ่าตัดแก้ไข cardiac tamponade,
,coronary revascularization ในราย AMI
Neurogenic Shock
อาการ
เป็นลม,มือเท้าอุ่นและผิวหนังชมพูจากหลอดเลือดขยายตัว BP ต่ำ P เร็ว
การักษา
การรักษาเฉพาะ
เช่นารใส่ NG tube ในรายท่ีมี gastric dilatation, สิ่งที่ทำให้เจ็บปวดหรือกลัว
การรักษาตามอาการและประคับประคอง
เช่น ดูแลเรื่องการหายใจและออกซิเจน
spinal cord injury
อาจให้ยา vasopressorเช่นEphedrineหรือAramine
การวินิจฉัยโรค
อาการ
BP ต่ำ หรือต่ำกว่าปกติที่เป็นอยู่ เดิมในผู้ป่วย ความดันลหิตสูง ชีพจรเบาเร็ว
ตัวเย็น การไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอ
การตรวจร่างกาย
HCT จะสูงหรือต่ำ
Vital sign เปลี่ยนแปลง BP ต่ำ P เบาเร็ว กระแทก Tสูง
ประเมินระดับความรู้สึกตัว
การตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการ เช่น CBC, BUN, Cr, Electrolytes, LFT, Arterial blood gas
Pulmonary tuberculosis
การวินิจฉัยแยกโรค
ไอ มัก มีเสมหะ (มานานกว่า 3 สัปดาห์)ไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร น้ำหนักตัว ลดลง
เสียงปอดเป็นปกติให้นึกถึงโรคอื่นด้วย เช่น Post nasal drip,Asthma,Gastroesophageal reflux disease
ลักษณะภาพรังสีทรวงอก
ตำแหน่งท่ีรอยโรคปรากฏ พบท่ีปอดกลีบบน ที้ด้านซ้าย/ ขวาบ่อยท่ีสุด มักเกิดจาก reactivation > reinfection
อาจพบที่ superior segment of lower lobe , middle lobe , lingular segment
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สารคัดหลั่งจากร่างกาย เช่น
เสมหะ หนอง ปัสสาวะ อุจจาระ เลือด น้ำเลือง
วิธีการตรวจ มี6ประเภท
1.การตรวจหาเชื้อ acidfastbacilli(AFB)
การตรวจเพาะเลี้ยงเชื้อและ ยืนยัน ชนิด (mycobacterial culture and identification)
3.การทดสอบความไวต่อยา(drugsusceptibilitytesting)
4.การทดสอบทางอณูชีววิทยา(molecularbiologytesting)
5.การทดสอบแอนติเจนของเชื้อวัณโรค(TBantigentesting)
6.การทดสอบการตอบสนองของร่างกายต่อการติดเชื้อวัณโรค
การรักษา
2HRZE/4HR
สำหรับผู้ป่วยใหม่ท่ีเชื้อไวต่อยา ท่ียังไม่เคยรักษา หรือ เคยรักษามาไม่เกิน 1 เดือน
First-linedrugs(FLD)
เคยเป็นมาแล้ว Isoniazid, rifampicin, pyrazinamide, ethambutol โดยไม่พบผลเชื้อวัณโรคดื้อต่อยา
CHRONIC OBSTRUCTIVE PULMONARY DISEASE
โรคหลอดลมอักสบเรื้อรังChronic bronchitis
มีอาการไอเรื้อรัง มีเสมหะปีละ อย่างน้อย 3 เดือน และติดต่อกันอย่างน้อย2ปี
โรคถุงลมโป่งพองEMPHYSEMA
เกิดการทำลายของถุงลม และ RESPIRATORY BRONCHIOLE ทำให้ ขยายตัวโป่งพองอย่างถาวร
การตรวจร่างกาย
มีการอุดกั้นมากขึ้น ใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ
มีลักษณะของ air trapping และ air flow limitation เช่น มีการเพิ่มของ anteroposterior diameter(A-P)
เคาะโปร่ง,Prolong expiratory phase,Decrease breath sounds , Rhonchiหรือwheezing
การวินิจฉัย
ในผู้ป่วยท่ีมีอายุตั้งแต่40ปีขึ้นไป ท่ีมีอาการเหนื่อยไอหรือ มีเสมหะเรื้อรัง
มีประวัติการติดเชื้อทางเดินหายใจซ้ำๆ ,การสูบบุหรี่ > 10 packyear ซึ่งควรยืนยันการวินิจฉัยด้วยspirometry
การรักษา
การรักษาด้วยยา
SABA
ชื่อสามัญ
Salbutamol การบริหารยา
สูด 1-2puffทกุ 4-6ชม.เมื่อมีอาการ
SABA/SAMA
ชื่อสามัญ
Fenoterol/ Ipratropium
การบริหารยา
สูด 1-2puffทกุ 6-8ชม.เมื่อมีอาการ
การรักษาด้วยการไม่ใช้ยา
สอนเทคนิคการใช้ยาพ่นสูดท่ีถูกวิธี
อาการบ่งบอกว่าจะมีภาวะกําเริบของโรคท่ีต้องมาพบแพทย์
เหนื่อยมากขึ้น , ไอมากขึ้น, เสมหะมากขึ้น, เสมหะเปลี่ยนสี,ต้องใช้ยาเพิ่มขึ้น, การเลิกสูบบุหรี่
การหายใจ purse lip เพื่อช่วยลด air trapping , การฟื้นฟสูมรรถภาพปอด,การฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ และ วัคซีนป้องกันการติดเชื้อ pneumococcal
Asthma
การวินิจฉัยโรค
อาการสำคัญ
หายใจเสียงดังหวีด ,แน่นหน้าอก, เหนื่อยหอบ หายใจไม่เต็มอิ่ม, ไอ
อาการสนับสนุน
อาการเป็นช่วงกลางคืน หรือเช้ามืด
กระตุ้นสารก่อภูมิแพ้ หรือสารระคายเคืองหรือ
การออกกำลังกายมีการตอบสนองต่อการรักษา
เช่นใช้ยามาก่อน
การรักษา
ยาที่ใช้พ่นในเด็ก
Salbutamol nebulizer solution (Ventolin) (5mg/ml)
0.03 mg/kg/dose ต่ำสุด2.5mg สูงสุด 1 ml = 5 mg ให้ทุก15นาที1-2ครั้ง
ยาที่ใช้พ่นในผู้ใหญ่
Salbutamol nebulizer solution (Ventolin) (5mg/ml)ผสมกับ NSSเป็น1:3 ให้ทุก15นาที1-2คร้ัง
Controller - Inhaled corticosteroid
ใช้ควบคุมไม่ให้เกิดการอักเสบบ่อยๆ
Reliever – B - agonist ช่วยให้หลอดลมขยาย
การรักษาโดยไม่ใช้ยา
หยดุ /เลิกบุหรี่,การฝึกการหายใจ,การออกกำลังกายสม่ำเสมอแบบแอโรบิค
การปรับสิ่งแวดล้อมในบ้านและสถานที่ทำงาน
, การลดน้ำหนักในผู้ที่มีภาวะอ้วน (ให้ได้อย่างน้อย 10%)
รับวัคซีนโรคเกี่ยวกับการติดเชื้อทางเดินหายใจ (Flu, COVID, IPD)
ใน severe uncontrolled asthma อาจส่ง specialist พิจารณาทำ bronchial thermoplasty
RESPIRATORY OBSTRUCTION
อาการ
ไอสำลัก(choking, gagging), อาจมีไอเป็นเลือด หรือ มาด้วยภาวะปอดอักเสบ,เสียงแหบ
หายใจครืดคราดมี เสียงwheezing,rhonchi หรือstridor, ถ้าเป็นมากจะไม่มีเสียงพูดออกมาไม่สามารถไอได้ตัวเขียว
การหายใจลำบากอาจทำให้เห็น supraclavicular,intercostal หรือ subcostal retraction
ภาวะ hypoxia จะทำให้มึนศีรษะ กระวนกระวาย สับ สน อ่อนเพลีย เฉื่อยชาลง จนหมดสติได้ ระบบหัวใจและหลอดเลือด จะทำให้ชีพจรเร็วข้ึน ความดันเลือดสูงข้ึน
การวินิจฉัยและการประเมิน
อาศัยประวัติและการตรวจร่างกายท่ีเข้าได้กับอาการแสดง
สิ่งสำคัญคือ
การตรวจดูบริเวณกล่องเสียงและหลอดลม
การตรวจพิเศษ
– CXR +/- film neck
– Arterial Blood Gas
– การส่องกล้องตรวจดูกล่องเสียง Endoscope
การรักษา
ต้องวินิจฉัยให้ได้ว่าการอุดกั้นเกิดที่ตำแหน่งใด
มีการบาดเจ็บหรือภาวะอื่น ร่วมด้วยหรือไม่ เช่น
C-spine injury, sepsis
การช่วยเหลือในภาวะฉุกเฉิน
กรณีที่ผู้ป่วยรู้สึกตัว
ผู้ป่วยยังดูได้หรือร้องมีเสียง ควรให้ผู้ป่วยพยายามไอ เพื่อนำ FB ออกเอง
เด็กอายุ<1ปี
,Five back blows and Five chest thrusts
เด็กอายุ>1ปี
, Heimlich maneuver
ผู้ใหญ่
Heimlich maneuver
Age > 1 year
Abdominal thrust while supine
กรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว
Americanheartassociation(AHA)แนะนำว่า
ให้รีบตามทีม
ขอความช่วยเหลือ
และเริ่มต้นการ
ทำCPR
ทันทีการกดหน้าอก ช่วย
ในเรื่องการไหลเวียนโลหิต
แล้วแรงดนันกดหน้าอก
อาจช่วยให้FBหลุดได้
ก่อนท่ีจะช่วยหายใจทุกคร้ัง
ให้
มองหา FB
ในปากของผู้ป่วยก่อนหากพบให้ออกมา
แต่หาก
ไม่พบห้ามใช้นิ้วควานหรือล้วง
และทำ CPRต่อจนกว่าอาการผู้ป่วยจะดีข้ึน หรือ ความช่วยเหลือมาถึง
PULMONARY EDEMA
อาการ
ชนิดเฉียบพลัน
หายใจไม่อิ่มอย่างรุนแรงหรือหายใจลําบากเมื่อนอนลง , หอบหรือรู้สึกเหมือนจมน้ํา หายใจมีเสียง
ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู, ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว
ชนิดเรื้อรัง
หายใจไม่อิ่มขณะทํากจิกรรมต่างๆมีเสียงครืดคราดหรือมีเสียงหวีด
ตื่นนอนกลางดึกเพราะหายใจลำบากต้องลุกขึ้นมานั่ง, น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น,
อ่อนเพลีย ,บวมที่เท้า
การวินิจฉัยโรค
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือดแดง,การตรวจระดับออกซิเจนในเลือด
การตรวจEchocardiogram หรือ ultrasoundเพื่อหาความผิดปกติของหัวใจ
การเอกซเรย์ปอด
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเพื่อตรวจดูความผิดปกติของจังหวะการเต้นของหัวใจ
การรักษา
กลุ่มยาลดแรงดัน
ที่เกิดจากของเหลวเข้า ไปในหัวใจและปอด เช่น ยา nitroglycerin และยํา Furosemide
กลุ่มยาขยายหลอดเลือด
และ ลดความดันในหัวใจห้องล่างซ้าย เช่น ยา Nitropusside
Morphine
เพื่อบรรเทาอาการหายใจไม่อิ่มและอาการวิตกกังวล แต่ควรใช้ยาอื่นมากกว่า
ยารักษาความดันโลหิต
แพทย์อาจให้ใช้ยาลดความดันโลหิตสําหรับผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูงจากน้ําท่วมปอด
ACUTE URINARY RETENTION
การรักษา
ใส่สายสวนปัสสาวะ
แล้วคาสายสวนไว้ก่อน
ในรายที่มีเลือดออก
ต้องสวนล้างถ้ายังมีเลือดไหลอยู่ ให้ใช้ไฟฟ้าจี้ห้ามเลือด
ในรายที่ใส่สายสวนไม่ได้
เพราะ
ท่อปัสสาวะตีบหรือ ต่อมลูกหมากโตมาก หรือ นิ่วมาอุด ก็ต้องใช้เครื่องมือถ่างขยายท่อปัสสาวะ
รายที่ไม่สามารถใส่สายสวน หรือ ขยายท่อปัสสาวะได้ ก็ต้องระบายน้ำปัสสาวะออกทางหน้าท้อง
pyuria – WBC ≥ 10 cells/HPF
ใน uncentrifuged urine ≥ 25 ใน centrifuge urine หรือ ร่วมกับมีbacteriuria
Gentamicin
4-5 mg/kg IV drip OD ,Ofloxacin
200 mg PO BID
Ceftriaxone
2 g IV drip OD (50-60 mg/kg)
การวินิจฉัย
ซักประวัติและตรวจร่างกาย
ประวัติอดีต
เช่น BPH, prostate/bladder cancer, surgery, cystoscope, injury,urethral catheter, radiation, infection
ประวัติยาเช่น anticholinergic, sympathomimetic, BZD, CCB, psychogenic,NSAIDs, opioid
Bladder outlet obstruction
ปัสสาวะลำบากหรือบ่อยมาก่อนเป็นเดือนมักพบในผู้ชายอายเกิน 50ปีโรคท่ีพบบ่อยBPH, contracted bladder neck, CA prostate
Acute urethritis with hypoactive bladder
พบในหญิงวัยกลางคน มีอาการปัสสาวะบ่อย แสบขัดนามาก่อน
Spasm of external urethral sphincter
พบในรายที่มีprolapseและinfectedinternalhemorrhoid,
perianal abscess หรือ
หลังผ่าตัดริดสีดวงทวาร หลังคลอดบุตรยาก
Drug-induced urinary retention
ยาบางชนิดทำให้การบีบตัวของbladderลดลงเช่น anticholinergic
Stricture urethra
มีประวัติ ruptured urethra หรือurethritis เรื้อรัง หรือ เคยได้รับการขยายท่อปัสสาวะ
Urethral calculus
มักพบในผู้ชายอายุ25-40ปีปวดแบบcolickypainอาจมีhematuria
Acute glomerulonephritis
การวินิจฉัยโรค
โรคไตเนโฟรติก
(nephriticsyndrome)
มีการสูญเสียโปรตีนจะมีอาการบวมทั้งตัวปัสสาวะออกมากและ
ไม่มีไข้
ยืนยันการวินิจฉัยโรค
โดยการตรวจปัสสาวะ
(พบเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาวปริมาณมากกว่าปกติและพบสารไข่ขาว
ตรวจเลือด
(อาจพบBUN/creatinineสูง ซึ่งบ่งบอกว่าไตขับของเสียไม่ได้เต็มท่ี)
ภาวะหัวใจล้มเหลว (congestive heart failure)
เท้าบวม 2 ข้าง และหายใจหอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ เพราะรู้สึก แน่นอึดอัด หายใจลำบาก
ภาวะขาดอาหาร
ขาดโปรตีน บวมทั้งตัวโดยท่ี ถ่ายปัสสาวะเป็นปกติ ถ้าปัสสาวะออกเป็นสีแดง อาจเกิดจากโรคนิ่วในไต หรือ เนื้องอกในไต
การรักษา
ให้ยารักษาตามอาการ
ถ้าติดเชื้อในคอหรือผิวหนังก็จะให้ยาปฏิชีวนะได้แก่ penicillin V
หรือ erythromycin
ให้ยาขับปัสสาวะลดบวม
ให้ยาลดความดันถ้าพบว่ามีความดันเลือดสูง
ทำการล้างไต(dialysis)ในรายที่มีภาวะไตวายรุนแรง