Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 - Coggle Diagram
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
วิสัยทัศน์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งร่างกาย ความรู้ คุณธรรมและจิตสำนึก โดยเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ
1.เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ
2.เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน
3.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอำนาจ
4.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียรู้ เวลาและการจัดการเรียนรู้
5.เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
6.เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ
จุดหมาย
2.มีความรู้อันเป็นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร
1.มีคุณธรรม จริยธรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
3.มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี
4.มีความรักชาติ มีจิตสำนึก
5.มีจิตสำนุกในการอนุรักษืวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
4.ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.ความสามารถในในการใช้เทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ซื่อสัตย์สุจริต
มีวินัย
ใฝ่เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง
มุ่งมั่นในการทำงาน
รักความเป็นไทย
มีจิตสาธารณะ
มาตรฐานการเรียนรู้
1.ภาษาไทย
2.คณิตศาสตร์
3.วิทยาศาสตร์
4.สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
5.สุขศึกษาและพลศึกษา
6.ศิลปะ
7.การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8.ภาษาต่างประเทศ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
ภาษาไทย
สาระที่ 1 การอ่าน
สาระที่ 2 การเขียน
สาระที่ 3 การฟังการดูและการพูด
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
คณิตศาสตร์
สาระที่ 1. จำนวนและการดำเนินการ
สาระที่ 2 การวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิต
สาระที่ 4 พืชคณิต
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
สาระที่ 6 ทักษาะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 สื่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ 5 พลังงาน
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิยาศาตร์และเทคโนโลยี
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
สุขศึกษาและพลศึกษา
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ 2 ชีวิตละครอบครัว
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทยและกีฬาสากล
สาระที่ 4 การเสริมสร้างสุขภาพ สมรรถภาพและการป้องกันโรค
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต
ศิลปะ
สาระที่ 1 ทัศนศิลป์
สาระที่ 2 ดนตรี
สาระที่ 3 นาฏศิลป์
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
สาระที่ 1 การดำรงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สาระที่ 4 การอาชีพ
ภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 1 ภาษาเพ่อการสื่อสาร
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
สาระที่ 3 ภาษากับคามสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
2.กิจกรรมนักเรียน
3.กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
1.กิจกรรมแนะแนว
ระดับการศึกษา
2.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
3.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
1.ระดับประถมศึกษา
การจัดเวลาเรียน
2.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีเวลาเรียนไม่เกิน 6 ชั่วโมง
3.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีเวลาเรียนไม่เกิน 6 ชั่วโมง
1.ระดับประถมศึกษา มีเวลาเรียนไม่เกิน 5 ชั่วโมง
การจัดการศึกษาสำหรับกลุ่มเป้าหมายเฉาะ
การศึกษาสำหรับผู้มีคามสามารถพิเศษ
การศึกษาทางเลือก
การศึกษาเฉพาะทาง
การจัดการเรียนรู้
2.กระบวนการเรียนรู้
3.การออกแบบการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้
4.บทบาทของผู้สอนและนักเรียน
สื่อการเรียนรู้
เป็นเครื่องมือส่งเริมสนับสนุนการจัดกระบวนการเรียนรู้ การเลือกใช้สื่อควรเบือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการและลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายขอผู้เรียน