Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคติดเชื้อในสตรีตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลโรคติดเชื้อในสตรีตั้งครรภ์
โรคติดเชื้อไวรัสซิกก้า
(Zika Virus Diseases)
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซิกา (Zika Virus)
ยุงลายเป็นพาหะ
มีระยะฟักตัว 3-12 วัน
อาการและอาการแสดง
ปวดข้อ อ่อนเพลีย มีไข้ต่ำ ๆ ปวดศีรษะ
อาจมีต่อมน้ำเหลืองโตและอุจจาระร่วง
ผื่นแดง (Maculopapula) บริเวณลำตัว แขน ขา
เยื่อบุตาอักเสบ (ไม่มีขี้ตา)
ผลของการติดเชื้อไวรัสซิกาต่อการตั้งครรภ์
Microcephaly รอบศีรษะทารกต่ำกว่า 3 Percentile ของค่าปกติในเพศและกลุ่มอายุของทารกนั้น
Central nervous system abnormalities
Maternal Guillain-Barre Syndrome (GBS)
Fetal growth restriction
การดูแลรักษา
ก่อนการตั้งครรภ์
กรณีเดินทางไปพื้นที่มีการแพร่ระบาดฝ่ายหญิงควรมีการคุมกำเนิดอย่างน้อย 2 เดือน
ขณะตั้งครรภ์
รักษาเหมือนคนทั่วไป ใช้ยาลดไข้ ตามอาการ
ประเมินภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์และการเจริญเติบโตจากการทำ NST , U/S
U/S ดูความผิดปกติหลังการติดเชื้อ 4 สัปดาห์ และติดตามต่อทุก 4 สัปดาห์เพื่อดูความพิการและศีรษะเล็ก
หาก U/S พบความผิดปกติ ให้คำปรึกษาวินิจฉัยยืนยันการติดเชื้อด้วยการเจาะน้ำคร่ำ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
(Corona-19 Virus with Pregnancy)
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมาก (Elderly pregnancy)
อ้วน
ครรภ์เป็นพิษ
เกิดจาเชื้อไวรัสตระกูล Corona ชื่อ SARS-CoV-2
มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง
การดูแลที่คลีนิคฝากครรภ์
กรณีไม่มีอาการ/อาการน้อย ควรเลื่อนนัดเพื่อมาฝากครรภ์ , U/S , คัดกรองเบาหวาน
กรณีผู้ป่วยครรภ์เสี่ยงสูง ต้องมาตรวจให้ใช้มาตรฐานของโรงพยาบาล
กรณีมาอาการปานกลาง/รุนแรง ให้รับไว้ในโรงพยาบาล
การดูแลโดยทีมสหสาขา
ตรวจ X-ray ปอด หรือ X-ray คอมพิวเตอร์ช่องอก
ติดตาม FHS ทารกในครรภ์เป็นระยะ
ยุติการตั้งครรภ์ตามข้อบ่งชี้ทางด้านสูติกรรม
ให้ยากลุ่ม Corticosteroids เพื่อกระตุ้นการเจริญของปอด
การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด
การดูแลทารกแรกเกิดเหมือนภาวะปกติ
ทำ Delayed cord clamping
ทำ Epidural block เพื่อระงับอาการเจ็บครรภ์
ให้วิธีคลอดเป็นไปตามมาตรฐาน
เฝ้าระวังอาการและอากรแสดงของภาวะ Sepsis
ดูแลการเจ็บครรภ์ตามมาตรฐาน
ตรวจติดตามวัดไข้
แจ้งกุมารแพทย์ทารกแรกเกิด
ประเมินความรุนแรงของโรคโควิด-19
การดูแลทารกหลังคลอด
แยกทารกเข้าห้องความดันลบอย่างน้อย 14 วัน
ทารกที่คลอดจากมารดาที่เกิดการติดเชื้อทุกรายถือว่าเป็น PUI เสมอ และตรวจการติดเชื้อทารกทุกราย
ตรวจติดตามอาการและอาการแสดงของทารกทุกรายเป็นระยะ
การใช้ Favipiravir ในหญิงตั้งครรภ์
ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตรเพราะอาจมีผลต่อ Uterine contraction และทารกผิดปกติ
มีโอกาสเกิด Teratogenic effect
หญิงวัยเจริญพันธุ์ควรตรวจการตั้งครรภ์ก่อนเริ่มยานี้
มารดาที่ได้รับประทานยา Favipiravir ควรงดให้นมบุตรเพราะยาจะถูกขับออกทางน้ำนม
โรคตับอักเสบ
Hepatitis A Virus (HAV)
Hepatitis B Virus (HBV)
Hepatitis C Virus (HCV)
Hepatitis D Virus (HDV)
*สตรีตั้งครรภ์พบบ่อย คือ HBV HCV
Hepatitis B Virus (HBV)
ได้รับเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์ การสัมผัสเลือด สิ่งคัดหลั่ง อุจจาระ ปัสสาวะ , มีระยะฟักตัวเฉลี่ย 120 day
อาการ
มีไข้ตำ่ๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องบริเวณชายโครงขวา คลำพบตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะสีเข้ม
ผลกระทบ
ด้านมารดา : เกิด Preterm labor
-ด้านทารก : Low birth weight และทารกมีโอกาสเกิดติดเชื้อจาก
มารดาสูง กรณี HBeAg
การรักษา
ระยะตั้งครรภ์ : ตรวจคัดกรองหญิงตั้งครรภ์พบ HBsAg และ HBeAg เป็น Positive , แนะนำการรับประทานอาหารไขมันต่ำ ย่อยง่าย ให้พลังงานสูง , แนะนำเรื่องการมาฝากครรภ์สม่ำเสมอ และการสังเกตอาการผิดปกติต่าง ๆ
ระยะคลอด : ติดตามความก้าวหน้าการคลอดและฟัง FHS , ,เมื่อทารกคลอดออกมาให้รีบ Suction ทางปากและจมูก
ทารกให้มากที่สุด , ดูแลการได้รับ HBIG 0.5 ml. ภายใน 12 hr.และ HBV 3 ครั้ง พร้อม HBIG 1เดือน 6เดือน
ตามลำดับ
ระยะหลังคลอด : ให้มารดา Breast Feeding ถ้าไม่มีหัวนมแตก แต่ถ้ามีควรงด , ควรนำบุตรมาตรวจและรับวัคซีน
ตามนัด
Hepatitis A Virus (HAV)
ติดต่อกันโดยการรับประทานอาหาร , มีระยะฟักตัว เฉลี่ย 4 wks
อาการ
อ่อนเพลีย , เบื่ออาหาร, Alkaline phosphatase เพิ่มขึ้น ,ถ้าตรวจพบน้ำดีในปัสสาวะ อาจทำให้มีตัวตาเหลือง
ผลกระทบ
อาจทำให้เกิด Preterm labor และการติดเชื่อใกล้คลอดอาจแพร่เชื้อไปยังทารก
การรักษา
ถ้าติดเชื้อใกล้คลอด พิจารณาให้ ISG ขนาด 0.2 ml./kg. แก่มารดา , ทารกให้ ISG ขนาด 0.5 mg.
รักษาสมดุลน้ำ ,ดูแลให้ได้รับประทานอาหารประเภทโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต
เลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ เช่น Acetaminophen และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
โรคหัดเยอรมัน (Rubella)
ติดต่อานทางเดินหายใจ ,มีระยะฟักตัว 14-21 day
อาการ
มีไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง มีผื่นเป็นตุ่มเล็ก ๆ สีแดง ต่อมน้ำเหลืองหลังหูโต
ผลกระทบ
มารดา : ไม่มีผลกระทบ
ทารก
เกิดชั่วคราว > ตับม้ามโต ตัวเหลือง
อยู่ตลอดไป > หัวใจพิการ ต้อหิน สมองพิการ
ปัญญาอ่อน
ปรากฎภายหลัง > ลิ้นหัวใจผิดปกติ ความดันโลหิตสูง
การรักษา
รายที่ GA 1-16 wks. ทารกมีความเสี่ยงในการเกิดความพิการ แนะนำให้หยุดการตั้งครรภ์
เก็บเลือดทารกส่งตรวจ
แนะนำให้
มารดามาฝากครรภ์สม่ำเสมอ
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีนควรได้รับการฉีดวัคซีนหลังคลอดทุกรายและหลังจากให้วัคซีน
ต้องคุมกำเนิดต่อไปอีกอย่างน้อย 3 เดือน
การติดเชื้อระบบทางเดินปัสสาวะ (Urinary tract infection)
ส่วนบน : พบที่ Pyelonephritis
ส่วนล่าง : พบที่ Cystitis ,Urethritis
อาการ
ปัสสาวะแสบขัด กระปริดกระปรอย ปวดหลังบริเวณตำแหน่งไต มีไข้หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน
ผลกระทบ
แท้ง , Preterm Labor,Low birth weight , IUGR, Septic Shock
การรักษา
ให้ Ampicillin 500 mg x 3 (7-10 day) ,ให้ IV fluid
ระยะตั้งครรภ์ : ส่งเสริมให้ดื่มน้ำวันละ 2,000-3,000 ml.และไม่กลั้นปัสสาวะ , นอนตะเเคงเพื่อไม่ให้
มดลูกกดทับท่อไต เน้นการมาฝากครรภ์ตามนัด
ระยะคลอด : สังเกตอาการผิดปกติที่แสดงถึงการติดเชื้อ
ระยะหลังคลอด : ให้คำแนะนำการป้องกันการติดเชื้อเหมือนขณะตั้งครรภ์
โรควัณโรค (Tuberculosis)
เกิดจากเชื้อ Mycobacteria tuberculosis
อาการ
มีไข้ต่ำ ๆ ไอเรื้อรัง/ไอเป็นเลือด หายใจลำบาก อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซูบผอม
ผลการตรวจห้องปฏิบัติการ
Culture เสมหะเป็น +ve , PPD เป็น +ve , Chest x-ray > Abnormal
ผลกระทบ
เชื้อสามารถผ่านรกและสารคัดหลั่งไปสู่ทารกได้ทารกอาจได้รับผลกระทบจากยารักษา คือ ยา Streptomycin ซึ่งมีพิษต่อหู
การรักษา
ระยะตั้งครรภ์ : พักผ่อนให้เพียงพอ , แนะนำสังเกตอาการผิดปกติและแนะนำเรื่องการมาฝากครรภ์ตามนัด
ระยะคลอด : จัดท่าให้นอนท่าศีรษะศูง , เตรียม oxygen และอุปกรณ์ช่วยชีวิต , ดูแลการแยกทารกและงดให้เอาทารกมาดูดนมจากเต้า ในรายที่มารดาเป็น Active TB หากมารดาได้รับยาและควบคุมโรคมานานอย่างน้อย 3 wks. สามารถให้นมทารกได้