เจ็บหน้าอก Chest pain
อาการและอาการแสดง CHF
อาการเหนื่อย(dyspnea)
อ่อนเพลีย (fatigue)
อาการบวมในบริเวณส่วนล่างของร่างกาย (dependent part)
แน่นท้อง ท้องอืด
หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว
เส้นเลือดดำที่คอโป่งพอง (jugular vein distinction)
เช่นเท้า ขา เป็นลักษณะบวมกดบุ๋ม
หายใจไม่สะดวกขณะนอนหลับและต้องตื่นขึ้นเนื่องจากอาการหายใจไม่สะดวก และมีอาการเหนื่อยขณะที่ออกแรง
อาการเหนื่อย หายใจไม่สะดวกขณะนอนราบ
เนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงร่างกายลดลง ทำให้สมรรถภาพของร่างกายลดลง
ซักประวัติ
อาการเจ็บป่วยปัจจุบัน
เจ็บป่วยในอดีต
โรคประจำตัว
การตรวจพิเศษ
CK-MB (Trop-T)
EKG (electrocardiography)
Chest X-ray
เจาะเลือดส่งตรวจ
BUN creatinine
CBC
Diagnosis
Pneumonia
อาการ
เจ็บหน้าอก ไอ มีเสมหะ ไข้ หนาวสั่น หายใจเหนื่อยหอบ
ตรวจร่างกาย
ฟังปอดมีเสียงกรอบแกรบ
ตรวจพิเศษ
Chest x-ray
infltration
Consolidation
Cavitation
Asthmatic attack
อาการ
ไอ เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อยเป็นๆหายๆ
ตรวจร่างกาย
ฟังเสียงปอด พบเสียง rhonchi wheeze
ตรวจพิเศษ
X-ray
Congestive heart failure ; CHF
อาการ
น้ำท่วมปอด เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย นอนราบไม่ได้
ตรวจพิเศษ
การตรวจเลือด
CBC
LFT
X-ray
EKG
ตรวจร่างกาย
หน้าบวม ขาบวม
Myocardial Infarction ; MI
สาเหตุ
ปัจจัยเสี่ยง HT DLP DM สูบบุหรี่
อาการ
แน่นหน้าอก บีบรัดเหมือนโดนทับ
ปวดร้าวไปบริเวณอื่น
เหงื่ออก ใจสั่น หายใจไม่ทัน นอนราบไม่ได้
ตรวจร่างกาย
ฟังเสียงหัวใจมี murmur
ฟังปอดเสียง crepitation
พบ distended neck vein JVD
ตรวจเลือดพบ CK-MB , Troponin - T
Ischemic heart disease
อาการ
ใจสั่น เหนื่อยหอบ เจ็บแน่นเหมือนของหนักๆมาทับ
เวียนศีรษะ คลื่นไส้
ตรวจร่างกายและ ตรวจพิเศษ
ฟังเสียงหัวใจได้เป็น heart sound gallop,murmur
Nursing diagnosis
1.ไม่สุขสบายจากอาการเจ็บหน้าอกเนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
การพยาบาล
4.ตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 12 lead
- ดูแลให้ยาบรรเทาอาการปวดตาม แผนการรักษา
3.ให้ออกซิเจนตามแผนรักษา
6.จัดบรรยากาศให้เงียบสงบ และให้กำลังใจ อยู่เป็นเพื่อนเพื่อลดความวิตกกังวล
2.ประเมินลักษณะอาการเจ็บหน้าอก
7.รายงานแพทย์ถ้าผู้ป่วยอาการแย่ลง
1.Absolute bed rest
2.มีภาวะน้ำเกินเนื่องจากการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
การพยาบาล
3.สังเกตและฟังเสียงปอดผู้ป่วย
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
2.ประเมินภาวะน้ำเกินในร่างกาย อาการบวมตามร่างกาย
5.บันทึก l/O ทุก 8ชั่วโมง
6.แนะนำให้ผู้ป่วยงดอาหารที่มีโซเดียมสูง
1.ประเมินสัญญาณทุก 4-6 ชั่วโมง
7.ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
3.เหนื่อยเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง
การพยาบาล
- ดูแลให้ยาพ่นขยายหลอดลมตามแผนการรักษา
- ติดตามค่า Oxygen saturation
- suction เพื่อลดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
- Absolute bed rest จัดท่านอนศีรษะสูง30 องศา
- ประเมินอาการเกี่ยวกับการหายใจและภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อมูลทั่วไป