Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายสุขภาพ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ, นางสาวจินตนา พาปา รหัสนักศึกษา…
นโยบายสุขภาพ นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
(Healthy public policy)
คือ นโยบายสาธารณะที่แสดงความห่วงใยอย่างชัดเจนเรื่องสุขภาพพร้อม
ที่จะรับผิดชอบต่อผลกระทบด้านสุขภาพ ที่อาจจะเกิดขึ้นจากนโยบายนั้น ขณะเดียวกันก็เป็นนโยบาย มุ่งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมทั้งทางสังคมและกายภาพที่เอื้อต่อการมีชีวิตที่มีสุขภาพดีและมุ่งให้ประชาชนมีทางเลือก
และสามารถเข้าถึงทางเลือกที่ก่อ ให้เกิดสุขภาพดีได้
การสร้างเสริมสุขภาพตามหลักของกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter)
การสร้างเสริมสุขภาพระดับครอบครัวและชุมชน
การสร้างเสริมสุขภาพระดับบริการสาธารณสุข
การสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล
การสร้างเสริมสุขภาพระดับยุทธศาสตร์
4.1 การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
4.2 การสร้างสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
4.3 การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
4.4 การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสร้างสุขภาพ
4.5 การปรับเปลี่ยนระบบบริกาสาธารณสุข
ตัวอย่างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
ระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การเพิ่มสวนสาธารณะ ลานกีฬา มุมสาธารณะ เพื่อให้คนในชุมชนใช้จัดกิจกรรมชุมชน อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
ระดับหน่วยงาน / องค์กร
การขยายฐานการผลิตบางอย่าง ที่เป็นมิตรกับชุมชน และธรรมชาติเข้าไปตั้งในชุมชน เป็นต้น
ระดับรัฐบาล และประเทศ
การพัฒนาพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ
การส่งเสริมเกษตรปลอดสารพิษ เกษตรผสมผสาน เกษตรธรรมชาติ หรือเกษตรที่เอื้อต่อสุขภาพ
การควบคุมการบริโภคบุหรี่ และสุราด้วยมาตรการต่างๆ
ระดับชุมชน
การจัดกิจกรรมกองทุนต่างๆ เพื่อการพึ่งพากันเองในชุมชน
การรวมตัวกันเป็นเครือข่ายเกษตรปลอดสารพิษ
นโยบายสุขภาพ (Health Policy)
หมายถึง ข้อความที่เป็นการประกาศอย่างเป็นทางการเกี่ยวกับการดำเนินการเพื่อสุขภาพของประชาชน
ตัวอย่างนโยบายสุขภาพ
นโยบายการจัดสรรงบประมาณค่าใช้จ่ายเพื่อโครงการป้องกันการสูบบุหรี่
นโยบาย 30 บาทรักษาทุกโรค
นโยบายสาธารณะ(Public Policy)
ตัวอย่างของนโยบายสาธารณะ
การส่งเสริมการเกษตรด้วยระบบเกษตร
การพัฒนาเมืองให้เจริญเติบโต
การพัฒนาประเทศโดยเน้นการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ด้วยการค้าเสรี
กระบวนการประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วม
ทิศทาง หรือแนวทางที่สังคมโดยรวมเห็นว่า หรือเชื่อว่า ควรจะดำเนินการไปในทิศทางนั้น นโยบายสาธารณะที่ดีต้องเกิดจากการมีส่วนร่วมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องโดยร่วมแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ความรู้ต่างๆร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมดำเนินการ
จุดอ่อนของนโยบายสาธารณะในสังคมไทย
ประชาชนเข้าไม่ถึงกระบวนการนโยบายสาธารณะ
ขาดกระบวนการประเมินผลกระทบ และการกำหนดทางลือกที่หลากหลาย
ให้ความสำคัญของคุณค่า และมิติต่างๆ อย่างไม่สมดุล
ขาดระบบการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลนโยบายสาธารณะต่างๆ ที่เกิดขึ้นและได้ลงมือดำเนินการไปแล้ว
การสร้างนโยบายสาธารณะ ขาดข้อมูลหลักฐานทางวิชาการที่มีน้ำหนักเพียงพอ
องค์ประกอบในสังคมที่สำคัญ
องค์ประกอบภาคประชาสังคม
องค์ประกอบภาครัฐและการเมือง
องค์ประกอบภาควิชาการ
นโยบายสาธารณสุข (Public health policy)
ลักษณะของนโยบายสาธารณสุข
3.การจัดทำนโยบายสาธารณสุขเพื่อแก้ไขความขัดแย้ง หรือส่งเสริมในวัตถุประสงค์ของการให้บริการ 3 ประการ
4.การวิเคราะห์และประเมินนโยบายสาธารณสุขต้องครอบคลุมถึงบริบท
2.การออกแบบหรือกำหนดนโยบายสาธารณสุขที่มีประสิทธิผล
5.นโยบายสาธารณสุขอยู่ภายใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทั้งทางด้านสังคมเศรษฐกิจ การเมือง และการบริหาร
1.นโยบายสุขภาพมีลักษณะที่แตกต่างจากนโยบายด้านอื่น
ตัวอย่างนโยบายสาธารณะสุข
นโยบายจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
การส่งเสริมการแพทย์แผนไทย และการใช้สมุนไพร
ในระบบบริการสาธารณสุข
การจัดหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ไปให้
บริการในชุมชนอย่างสม่ำเสมอ
นโยบายเพื่อการดำเนินงานด้านสาธารณสุข ซึ่งนโยบายสาธารณสุขมีส่วนสำคัญต่อการพัฒนาสุขภาพประชาชนด้านการดำเนินกิจกรรมสาธารณสุขและการจัดบริการสาธารณสุขต่างๆ
นางสาวจินตนา พาปา
รหัสนักศึกษา 62102301019 เลขที่ 18