Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี, นางสาวนิตยา ชานวาทิกตระกูล 62102301068 -…
แผนยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
กรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 (2560-2579)
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ต่อยอดอดีต โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต
ปรับปัจจุบัน เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติต่างๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง
สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของตลาด
ด้านความมั่นคง
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญ คือ ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เน้นการบริหารจัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความมั่นคง ปลอดภัย มีเอกราช อธิปไตย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับ
ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
มีเป้าหมายการพัฒนาที่ให้ความสำคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่นมาร่วมขับเคลื่อน โดยการสนับสนุนการรวมตัวของประชาชนในการร่วมคิดร่วมทำเพื่อส่วนรวม
ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อพัฒนาคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี เก่ง และมีคุณภาพ โดยคนไทยมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้าน และมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย
มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
มีเป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อนำไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ ทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาล และความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
เป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อปรับเปลี่ยนภาครัฐที่ยึดหลัก “ภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับบทบาท ภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐที่ทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการยึดหลักธรรมาภิบาล
รัฐธรรมนูญ 2559 กับยุทธศาสตร์ชาต
มาตรา 65 รัฐพึงจัดให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน เพื่อเป็นกรอบในการจัดทําแผนต่างๆเกิดการผลักดันไปสู่เป้าหมายเดียวกัน สาระในยุทธศาสตร์ชาติให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กฎหมายบัญญัติ ทั้งนี้ ้องมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึง
มาตรา ๒๗๕ ให้คณะรัฐมนตร จัดให้มีกฎหมายเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติให้แล้วเสร็จ ภายใน ๑๒๐ วันนับแต่ประกาศใช้รัฐธรรมนูญนี้ นี้ และดําเนินการจัดทํายุทธศาสตร์ชาติให้แล้วเสร็จ ภายใน ๑ ปีนับแต่วันที่กฎหมายใช้บังคับ
6-6-4 ยุทธศาสตร์ 20ปี สู่ยุทธศาสรต์ของแผนพัฒนา ฉบับที่ 12
4.การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
รักษาฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดุลของ
การอนุรักษ์และใช้ประโยชน
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ
แก้ไขปัญหาวิกฤตสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการผลิต
และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
3.การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจ
และแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
บริหารจัดการเศรษฐกิจส่วนรวมทั้งการคลัง
และการเงิน
เสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการ
แข่งขันของภาคการผลิตและบริการ
10.ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อ
การพัฒนา
พัฒนาความเชื่อมโยงด้านการคมนาคมขนส่งโลจิสติกส์ และโทรคมนาคมในกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาค
พัฒนาและส่งเสริมให้ไทยเป็นฐานของการประกอบธุรกิจ การบริการ และการลงทุนที่โดดเด่นในภูมิภาค
ส่งเสริมการลงทุนไทยในต่างประเทศ
9.การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่
เศรษฐกิจ
พัฒนาภาคเพื่อสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้
กระจายตัวอย่างทั่วถึง
พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ
พัฒนาเมือง
7.การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ
ระบบโลจิสติกส
พัฒนาระบบรถไฟให้เป็นโครงข่ายหลักในการเดิน
ทางและขนส่งของประเทศ
พัฒนาและยกระดับมาตรฐานระบบการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานให้ได้มาตรฐานสากล
จัดหาพลังงานให้เพียงพอและสร้างความมั่นคงใน
การผลิตพลังงาน
2.การสร้างความเป็นธรรมและ
ลดความเหลื่อมล้ำ ในสังคม
เพิ่มโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ
40 ที่มีรายได้ต่ำสุด
กระจายการให้บริการภาครัฐทั้งด้านการศึกษา
สาธารณสุข และสวัสดิการที่มีคุณภาพ
y เสริมสร้างศักยภาพชุมชน พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
และการสร้างความเข้มแข็งการเงินฐานราก
8.การพัฒนาวิทยาศาสตรเทคโนโลยี
วิจัย และนวัตกรรม
เร่งส่งเสริมการลงทุนวิจัยและพัฒนาและผลักดัน
สู่การใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์และเชิงสังคม
y พัฒนาผู้ประกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทาง
เทคโนโลยี
6.การบริหารจัดการในภาครัฐป้องกัน
การทุจริตประพฤติมิชอบและ
ธรรมาภิบาลในสังคมไทย
ปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ
และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ
ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณและสร้างกลไก
ในการติดตามตรวจสอบการเงินการคลังภาครัฐ
เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับการให้บริการ
สาธารณะให้ได้มาตรฐานสากล
5.การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน
รักษาความมั่นคงภายใน
เสริมสร้างศักยภาพการป้องกันประเทศ
ส่งเสริมความร่วมมือกับต่างประเทศด้านความ
มั่นคง
1.การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพ
ทุนมนุษย์
ปรับเปลี่ยนค่านิยมคนไทยให้มีคุณธรรมจริยธรรม มีวินัย จิตสาธารณะ และพฤติกรรมที่พึงประสงค
พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะ ความรู้ และ
ความสามารถในการดำ รงชีวิตอย่างมีคุณค่า
ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้
ตลอดชีวิต
วิสัยทัศน์
ความมั่งคั่ง :
ความยั่นยืน
ความมั่นคง
นางสาวนิตยา ชานวาทิกตระกูล 62102301068