Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาทารกที่มีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และการพยาบาลโรคติดเชื้อในส…
การพยาบาลมารดาทารกที่มีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และการพยาบาลโรคติดเชื้อในสตรีตั้งครรภ์
โรคติดเชื้อในสตรีตั้งครรภ์
โรคหัดเยอรมัน
การติดเชื้อ : Rubella virus (ผ่านทางหายใจ)
ระยะฟักตัว 14-21 วัน
ระยะติดต่อ:ก่อนออกผื่น 7 วันและหลังออกผื่น 4 วัน
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ ครั้นเนื้อครั้นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง
ไอ เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองหูโต
ปวดข้อ ไข้ 1-2 วัน
มีผื่นเป็นตุ่มเล็กๆสีแดง
ผลกระทบ
มารดา :ไม่มีผลกระทบ
ทารก
เกิดการแท้ง ทารกตาย
ทารกพิการแต่กำเนิด
เกิดขึ้นชั่วคราว : ตับม้ามโต ตัวเหลือง โลหิตจาง เกร็ดเลือดต่ำ
คงอยู่ตลอดไป : หูหนวก หัวใจพิการ ตาบอด ต้อหิน สมองพิการ
ปรากฎภายหลัง : เบาหวาน ไทรอยด์ ลิ้นหัวใจผิดปกติ
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกันแก่เด็กผู้หญิง สตรีวัยเจริญพันธ์
สตรีมีครรภ์ที่สัมผัสเชื้อ
ให้คำปรึกษาภาวะเสี่ยง
แนะนำฝากครรภ์หน่วยฝากครรภ์ความเสี่ยงสูง
รายที่ GA 1-16 wks. พบว่ามีการติดเชื้อชัดเจน ทารกมีความเสียงพิการแต่กำเนิดสูงแนะนำยุติการตั้งครรภ์
เก็บเลือดทารกที่เกิดจากมารดาติดเชื้อส่งตรวจยืนยัน
การพยาบาล
ให้วัคซีนและคุมกำเนิดหลังฉีดอย่างน้อย 3 เดือน
หลีกเลี่ยงการเข้าชุมชนในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของเชื่อหัดเยอรมันโดยเฉพาะไตรมาสแรก
แนะนำฝากครรภ์สม่ำเสมอ
เปิดโอกาสให้ระบายความรู้สึกและซักถามข้อสงสัย
สตรีที่ไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซีน ควรได้รับวัคซีนหลังคลอดทุกราย และคุมกำเนิดต่อไปอย่างน้อย 3 เดือน
โรคตับอักเสบกับการตั้งครรภ์
Hepatitis B
สาเหตุ:เชื้อ hepatitis B virus ฟักตัวนาน 50-180 วัน
การได้รับเชื้อ:เพศสัมพันธ์,สัมผัสเลือด สิ่งคัดหลั่ง อุจจาระ ปัสสาวะ,ทารกได้รับเชื้อจากการผ่านทางรกและขณะคลอด
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้อง/ปวดบริเวณชายโครงขวา คำพบตับโต และปัสสาวะสีเข้ม
ผลของโรค ต่อมารดา=Preterm labor ด้านทารก=LBW,ตายปริกำเนิด,พัฒนาเป็นโรคตับแข็งและมะเร็งตับได้
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
1.พบ HBsAg และ HBeAg เป็นบวก แนะนำให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ ทานอาหารไขมันต่ำ ย่อยง่าย ให้พลังงานสูง 2.อธิบายให้มาฝากครรภ์สม่ำเสมอ 3.แนะนำการนับลูกดิ้นและอาการผิดปกติที่ต้องมาพบแพทย์
ระยะคลอด
1.นอนพักบนเตียง ติดตาม UC ฟัง FHS 2.เลี่ยงการ PV and ARM 3.เมื่อศีรษะคลอด ดูดเลือดและมูกออกจากปาก จมูก ทารกให้มากที่สุด 4.ดูแลให้ได้รับ HBIG 0.5 ml. ภายใน 12 hr. และ HBV 3 ครั้ง พร้อม HBIG 1 เดือน 6 เดือนตามลำดับ
ระยะหลังคลอด
1.ให้ BF ได้ ถ้าหัวนมแตกให้งด BF ก่อน 2.รักษาความสะอาดของร่างกาย 3.ล้างมือให้สะอาด
Hepatitis A
ติดต่อโดยการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ ระยะฟักตัว 2-7 สัปดาห์ เฉลี่ย 4 สัปดาห์ ผู้ที่ติดเชื้อแล้วจะมีภูมิไม่เป็นพาหะ
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ตรวจพบน้ำดีในปัสสาวะ ตาตัวเหลือง
ผลกระทบต่อมารดาและทารก อาจเกิด preterm labor ทารกจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ HAV 6-9 เดือน ถ้าติดเชื้อระยะใกล้คลอด อาจแพร่เชื้อไปยังทารกในระยะคลอดและหลังคลอดได้
การป้องกันและการรักษา
1.รักษาสมดุลน้ำในร่างกาย 2.ดูแลให้ได้รับอาหารประเภทโปรตีนและคาร์โบไฮเดรต 3.ลดความรุนแรงของโรคโดยให้ ISG 0.2 ml/kg กรณีมีการติดเชื้อรุนแรงให้ ISG 0.5 ml. แก่ทารกแรกเกิด
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
1.อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา เพื่อลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือในการรักษา 2.แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ รับประทานอาหารที่สุกสะอาด และย่อยง่าย ดื่มน้ำให้เพียงพอ 3.มาตรวจตามนัด และหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สาเหตุ:ยุงลาย
ระยะฟักตัว 3~12 วัย
อาการ : ไข้ต่ำๆปวดศีรษะ เยื่อยุตาอักเสบ ผื่นแดง
ผลกระทบ
Microcephaly
Central nervous system abnormalities
Fetal growth restriction
Maternal Gillian-barre syndrome GBS
การรักษาและการป้องกัน
รักษาตามอาการ ห้ามให้ยา aspirin ยากลุ่มลดการอักเสบที่ไม่ใช่ steroid
ป้องกันไม่ให้ยุงกัด
การดูแล
ก่อนตั้งครรภ์ กรณีเดินทางไปที่มีการระบาด ฝ่ายหญิงคุมกำเนิดอย่างน้อย 2 เดือน
ขณะตั้งครรภ์ U/S ดูความผิดปกติหลังการติดเชื้อ 4 Wks. และติดตามทุก 4 Wks. ดูความพิการและศีรษะเล็ก
การคลอด พิจารณาตามข้อบ่งชี้สูติศาสตร์
หลังคลอด BF ได้
โรควัณโรค
เกิดจาก : เชื้อ mycobacterium tuberculosis
อาการ
มีไข้ต่ำๆ
ไอเรื้อรังหรือไอเป็นเลือด
หายใจลำบาก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ผลกระทบ
IUGR,prematurity,fetal death
Congenital TB
Streptomycin มีพิษต่อหู ทารกได้รับผลกระทบจากยาวัณโรค
การป้องกัน
มารดาที่ active TB แยกทารกและให้ยา INH prophylaxis และให้ BCG vaccine
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
การใช้ยาต่อเนื่อง
ป้องกันการแพร่เชื้อ
รับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง
ระยะคลอด
ยึดหลัก standard precaution
นอนท่าศีรษะสูงขณะคลอด
เตรียมออกซิเจนและอุปกรณ์ช่วย
UTI
สาเหตุ
การติดเชื้อ E.coli
มีเลือดมาเลี้ยงมากทำให้เซลล์บวม เกิดการติดเชื้อง่าย
ชนิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
Asymptomatic bacteriuria
ตรวจพบ bacteria ในปัสสาวะ >105 (ตรวจ 2 ครั้ง)
Acute cystitis
มีอาการปวดปัสสาวะ มี WBC ในปัสสาวะ ไข้สูง
Acute pyelonephritis
ตรวจพบ bacteria ในปัสสาวะ >105+ ปัสสาวะเป็นหนอง
ไข้ หนาวสั่น ปวดบั้นเอว
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะแสบขัด ประปริดกระปรอย
กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ปัสสาวะสีขุ่น
ปวดบริเวตำแหน่งไต
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
แท้ง
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
Septic shock
LBW,IUGR
การป้องกันและการรักษา
การป้องกัน
แนะนำการทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ุทุกครั้งหลังขับถ่าย
ดื่มน้ำวันละ 2,000-3,000 ml. และไม่กลั้นปัสสาวะ
ทำการคัดกรองเชื้อตั้งแต่เริ่มต้น
แนะนำสังเกตอาการผิดปกติที่แสดงอาการติดเชื้อ
การรักษา
ให้ยา ampicillin 500mg (7-10 day) ถ้าอาการรุนแรง ให้ampicillin มากกว่า 1 g vein q 4 hr. (3 day) ตรวจ U/C หลังรักษา 7 วัน
ให้ IV fluid รายที่ติดเชื้อรุนแรง รักษาภาวะขาดน้ำ
การพยาบาลมารดาทารกที่มีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
การติดเชื้อ HIV
สาเหตุ
Human immunodeficiency virus
รูปแบบการติดต่อ
ผ่านการมีเพศสัมพันธ์ ผ่านทางเลือด หรือติดต่อจากมารดาไปยังทารก
การแพร่เชื้อจากมารดาสู่ทารก
ขณะตั้งครรภ์
ผ่านทางรก
ขณะคลอด
ทารกสัมผัสกับเลือด น้ำคร่ำและสารคัดหลั่ง
ระยะหลังคลอด
ติดเชื้อจากการทานนมมารดา
แนวทางการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อจากมารดาสู่ทารก
ให้ยา ARV สตรีที่ติดเชื้อ และทารกหลังคลอด
อาการ
ระยะแรก
หลังติดเชื้อ 1-6 wks. มีไข้ เจ็บคอ ปวดเม่อตามตัว มีผื่นขึ้น ต่อมน้ำเหลืองโต
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ
ผู้ติดเชื้อจะแข็งแรงและสามารถแพร่เชื้อได้ ระยะนี้กินเวลา 5-10 ปี
ระยะติดเชื้อมีอาการ
มีไข้เป็นพักๆ ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด พบเชื้อราในปาก
ระยะผู้ป่วยเป็นเอดส์
มีไข้ ผอม ต่อมน้ำเหลืองโต ซีด ช่องปากเป็นฝ้าขาว
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
อัตราการตายของทารกแรกเกิดสูงขึ้น
ได้รับยา ARV หลายชนิด เพิ่มอุบัติการณ์เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดและภาวะครรภ์เป็นพิษ
เกิดอาการที่คล้ายกับอาการของภาวะ acute fatty liver
การป้องกัน
ให้ยาต้านไวรัสแก่หญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV
พิจารณาระยะเวลาที่จะให้คลอดและวิธีการคลอด
หลีกเลี่ยงการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
รักษาภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการติดเชื้อฉวยโอกาส
การรักษา
HAART regimen ริยมให้ยาต้านไวรัสหลายชนิดรวมกัน
การให้ยาต้านไวรัสในสตรีตั้งครรภ์
กรณีไม่เคยได้รับยามาก่อน
กรณีเคยได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน
กรณีไม่ได้ฝากครรภ์และไม่ได้รับยาต้านไวรัส มีความเสี่ยงสูง
การพิจารการคลอดและวิธีการคลอด
แนะนำให้คลอดทั้งทางช่องคลอดและผ่าตัดคลอด
ถุงน้ำคร่ำแตกควรให้คลอดโดยเร็ว
คลอดได้เมื่ออายุครรภ์ครบกำหนด 39 สัปดาห์
พิจารณาปริมาณ viral load
เลี่ยงการทำหัตถการที่ทำให้บาดเจ็บ เช่น forcep,Vacuum
เมื่อศีรษะทารกคลอดรีบดูดสารคัดหลั่งออกจากปากและจมูก
หลังคลอด
ยากลุ่ม ergotamine เช่น methargin ทำให้หลอดเลือดหดรัดตัวรุนแรง
งด BF
แนะนำใส่เสื้อชั้นในคับเพื่อยับยั้งการสร้างและการหลั่งน้ำนม
แนะนำการวางแผนครอบครัว การทำหมัน การฝังยาคุมกำเนิด ไม่ใช้ห่วงอนามัย ใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
โรคหูดหงอนไก่
สาเหตุ
เชื้อ human papilloma virus (HPV)
อาการและอาการแสดง
รอยโรคเป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่
อยู่เดี่ยวๆหรือเป็นกลุ่มขนาดแตกต่างกัน
ขณะตั้งครรภ์รอยโรคจะขยายใหญ่และยุ่ยมาก มีผิวขรุขระคล้ายดกอกะหล่ำ
ผลกระทบ
ขัดขวางช่องทางคลอด
เกิดการตกเลอดหลังคลอด
มีโอกาสเป็นมะเร็งปากมดลูก
การประเมินและการวินิจฉัย
ซักประวัติ
เคยติดเชื้อหงอนไก่
เคยมีเพศสัมพันธ์กันคนที่เป็นหูดหงอนไก่
อาการและอาการแสดง
ตรวจร่างกาย
รอยโรคจะขยายใหญ่และยุ่ยมาก มีมีผิวขรุขระคล้ายดอกกะหล่ำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตัดชิ้นเนื้อตรวจทางพยาธิวิทยา วินิจฉัยแยกโรค
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพ
แนะนำให้สามีมารับการตรวจ ถ้าติดเชื้อควรรักษาพร้อมกัน
แนะนำการปฏิบัติเช่น การรับประทานยา งดมีเพศสัมพันธ์ หรือใช้ถุงยางอนามันจนกว่าจะรักษาหาย เลี่ยงการสัมผัสแผลและหนอง
ระยะคลอด
ให้การพยาบาลโดยยึดหลัก universal precaution
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการทางช่องคลอด เช่น PV
หลังคลอด
แนะนำการดูแลทารก ล้างมือสะอาด ถ้าไม่มีแผลบริเวณหัวนมหรือเต้มนมสามารถ BF ได้
โรคติดเชื้อเริม
สาเหตุ
เริมที่ปาก HSV-1
เริมที่อวัยวะเพศ HSV-2
สาเหตุของเริมที่อวัยวะเพศ
เข้าสู่ร่างกายทางแผลหรือเยื่อบุ
อาการ
ปฐมภูมิ
เกิด 3-7 วันหลังสัมผัสเชื้อ
ปวดแสบปวดร้อนและคันบริเวณสัมผัสโรค
อาจมีอาการคล้ายหวัด เช่น ไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย
ติดเชื้อซ้ำ
มีอาการเหมือนปฐมภูมิ อาการไม่รุนแรง รอยโรคน้อย
สาเหตุ ความเครียด มีประจำเดือน ไข้หวัด
ผลกระทบ
ติดเชื้อครั้งแรก
เสี่ยงต่อการแท้ง
เจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ทารก
IUGR
Preterm baby
ทารกติดเชื้อ ทำให้พิการแต่กำเนิด
การประเมินและการวินิจฉัย
ซักประวัติ
เคยติดเชื้อเริมไหม
เคยมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่เป็นเริม
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
พบตุ่มน้ำใส ถ้าตุ่มแตกจะพบแผลแดง อาจพบต่อมน้ำเหลืองโตข้างขาหนีบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
นำของเหลวจากตุ่ม ก้นแผล มาเพาะเชื้อ หรือขูดก้นแผลป้ายสไลด์แล้วย้อมสี(Tzanck’s test)
การรักษา
รักษาโดย ยาแก้ปวด ยาปฏิชีวนะ ล้างแผลถ้าอาการรุนแรงขึ้นให้ Acuclovir 200 mg oral 5-7วัน
ให้คลอดโดย c/s และเฝ้าระวังทารก พบรอยโรคขณะคลอด
อาจคลอดทางช่องคลอดได้ พบรอยโรคยู่ห่างอวัยวะสืบพันธุ์มากและรอยโรคไม่แตก
Syphilis
ซิฟิลิสโดยกำเนิด
Early เกิดใน 2 ปีแรกหลังคลอด
Late เกิดหลัง 2 ปีแรก
Stigma ร่องรอยแผลเป็นหรือความพิการจาก Early หรือ late
ระยะของโรค
ระยะที่ 1
แผลขอบแข็ง ก้นแผลสะอาด (hard chancre)
ระยะที่ 2
Condyloma Alta ผทานนูนหนาบริเวณอับชื้น
ผื่น (skin rash) กระจายบริเวณหน้าอก และฝ่ามือ ฝ่าเท้ามีสะเก็ดสีขาวคล้ายกลีบกุหลาบ เรียก Roseola syphilitica
ผมร่วง alopecia ผมร่วงหย่อมๆ
Latent syphilis
การทดสอบน้ำเหลืองให้ลบ ไม่มีอาการ
Tertiarysyphilis
กัมม่าของผิวหนัง กระดูก และอวัยวะอื่นๆ
ซิฟิลิสของหัวใจและหลอดเลือด ระบบประสาท
อาการ
อาการหลังได้รับเชื้อ 10-90 วันเกิดแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธ์ุภายนอก ในช่องคลอด ปากมดลูก
ต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบโต กดไม่เจ็บ
2-6 wks. แผลจะหายเองและมีผื่นทั่วร่างกาย
3-12 wks. หลังผื่นขึ้นเข้าสู่ระยะแฝง (ไม่มีอาการแต่แพร่กระจายเชื้อได้)
ผลกระทบต่อมารดาทารก
ผิวหนังและเนื้อเยื่อของมารดาอักเสบ
แท้งบุตร
คลอดก่อนกำหนด
ทารกตาย
ทารกติดเชื้อซิฟิลิสหลังคลอด
ทารกพิการแต่กำเนิด
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อ
ประวัติเคยปวดติดเชื้อซิฟิลิสมาก่อน
การตรวจร่างกาย
พบไข้ต่ำๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว
ตรวจอวัยวะสืบพันธ์ุพบแผลขอบแข็งกดไม่เจ็บ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
นิยมคัดกรองด้วย VDRL
ผล reactive >1:8 ยืนยันด้วย TPHA อีกครั้ง บวกอีก แสดงว่าติดเชื้อ
แนวทางการรักษา
นำคู่นอนมารักษาด้วย
ระยะ primary,secondary และ early latent syphilis ให้ฉีด benzatine penicillin G 2.4 u ครั้งเดียว
ระยะ late latent syphilis ฉีด benzatine penicillin G 2.4 u 3 wks.ติดต่อกัน
ครบ 6-12 เดือนตรวจ VDRL tiger ซ้ำ
ถ้า VDRL tiger ลดลง 4 เท่าแสดงว่าตอบสนองต่อการรักษา
ถ้า VDRL เพิ่ม 4 เท่า แสดงว่าไม่ตอบสนองให้รักษาใหม่
การวินิจฉัยซิฟิลิสแต่กำเนิด มารดาติดเชื้อซิฟิลิสร่วมกับตรวจพบข้อใดข้อหนึ่ง
มีอาการและอาการแสดงเข้ากับโรคซิฟิลิสแต่กำเนิด
ผลตรวจ nonteroponemal test >=4เท่า เทียบกับมารดา
ผลตรวจ treponemal IgM ในทารกได้ผลบวก
ตรวจหาเชื้อโดยตรง ด้วยวิธี darkfield,NAAT,IHC ได้ผลบวก
โรคติดเชื้อหนองใน
สาเหตุ
Neiseria gonorrhea หรือ gonococus
เข้าสู่ร่างกายทางเยื่อเมือกต่างๆของอวัยวะสืบพันธ์ุส่วนล่าง
มารดาแพร่เชื้อไปยังทารกผ่านทางแผลถลอกหรือเยื่อเมือกของร่างกายโดยเฉพาะตา
อาการ
อักเสบของปากมดลูกและช่องคลอด ตกขาวเป็นหนองข้นปริมาณมาก
กดเจ็บบริเวณต่อมบาโทลิน
อาจมีการติดเชื้อที่ทางเดินปัสสาวะ
ผลกระทบมารดาและทารก
เสี่ยงต่อการแท้งบุตร
ถุงน้ำคร่ำอักเสบติดเชื้อ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำเนิด
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
การประเมินและการวินิจฉัย
ซักประวัติ
การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อหนองใน
เคยติดเชื้อหนองในมาก่อน
อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย
พบหนองสีขาวขุ่น หรือหนองปนเลือด
ถ้ามีการอักสบขาหนีบจะบวม
กดเจ็บบริเวณต่อมบาโทลิน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เก็บน้ำเหลืองหรือหนองมาตรวจ gram stain smear ถ้าย้อมติดสีแดง คล้ายถั่วหันหน้าเข้าหากัน คือ มีการติดเชื้อ
การป้องกันการติดเชื้อในทารก
ป้ายตาด้วย 1 Tetracycline ointment,0.5 erythromycin oinment