Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นโยบายสาธารณสุข (Public health policy) นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ …
นโยบายสาธารณสุข
(Public health policy)
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
(Healthy public policy)
นโยบายเพื่อการดำเนินงานด้านสาธารณสุข
ลักษณะของนโยบายสาธารณสุข
ความซับซ้อนของบริการ
สุขภาพและธรรมชาติของการตัดสินใจเรื่องสุขภาพ
2.การออกแบบหรือกำหนดนโยบายสาธารณสุขที่มีประสิทธิผล ขึ้นอยู่กับการ
กระตุ้นหรือจูงใจให้มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
3.การจัดทำนโยบายสาธารณสุขเพื่อแก้ไขความขัดแย้ง หรือส่งเสริมในวัตถุ
ประสงค์ของการให้บริการ
การเข้าถึง(Access)
คุณภาพ(Quality)
ความคุ้มค่า (Cost-effectiveness)
4.การวิเคราะห์และประเมินนโยบายสาธารณสุขต้องครอบคลุมถึงบริบท
(Context) กระบวนการจัดทำ(Process) ผู้ปฏิบัติ(Actors) และเนื้อหาสาระ(Contents) หรือตัวแบบ CPAC
5.นโยบายสาธารณสุขอยู่ภายใต้อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการบริหาร
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy public policy)
การดำเนินการตามนโยบายสาธารณะต่างๆ มีผลกระทบต่อบุคคลและ
สภาพแวดล้อม ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ/สุขภาวะ ทั้งทางบวกและทางลบ และ
ทางตรงและทางอ้อม
นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพที่ดีต้องคำนึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
สันติภาพ
ที่อยู่อาศัย
การศึกษา
อาหาร
รายได้
ระบบ
นิเวศน์และสิ่งแวดล้อมที่มั่นคง
การสร้างเสริมสุขภาพตามหลักของกฎบัตรออตตาวา (Ottawa Charter)
การสร้างเสริมสุขภาพระดับบุคคล
การสร้างเสริมสุขภาพระดับบริการสาธารณสุข
การสร้างเสริมสุขภาพระดับครอบครัวและชุมชน
การสร้างเสริมสุขภาพระดับยุทธศาสตร์
4.1 การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ เป็นนโยบายที่มีผลกระทบต่อ
สุขภาพทั้งด้านบวกและด้านลบ สามารถลดอัตราตาย การพิการ ระดับองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ระดับหน่วยงาน/องค์กร และระดับชุมชน
4.2 การสร้างสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ สิ่งแวดล้อม
เป็นปัจจัยที่กำหนดภาวะภาวะสุขภาพ
ตลาดนัดเพื่อสุขภาพ
สวนสุขภาพในชุมชน
ห้องออกกำลังกายในสถานศึกษา
4.3 การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน สุขภาพเกิดจากการอยู่ร่วมกัน
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมอาศัย มีความเป็นกลุ่ม
4.4 การพัฒนาทักษะส่วนบุคคลให้สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ
สร้างสุขภาพ เป็นการส่งเสริมให้บุคคล ครอบครัวมีความรู้ความสามารถในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันผลกระทบที่เกิดจากปัจจัยต่างที่มีผลต่อสุภาพผ่าน
การทำงานที่หลากหลาย
4.5 การปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุข ทิศทางของระบบบริการ
สาธารณสุขที่เหมาะสมจะส่งผลต่อการสร้างเสริมสุขภาพ สอดคล้องกับวิถีชีวิตของ
คนในชุมชน มีการใช้ทรัพยากรอย่างมี
ประสิทธิภาพ มีระบบการส่งต่อเพื่อการดูแลในระดับที่สูงกว่า
ตัวอย่างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
ระดับรัฐบาล & ประเทศ
การควบคุมการบริโภคบุหรี่และสุราด้วยกฎหมายและมาตรการต่างๆ
การพัฒนาพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรกับธรรมชาต
เส้นทางสู่การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การจะทำให้รัฐบาล ราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และ
สังคมภาคส่วนต่างๆ
ประชาชนแข็งแรง เศรษฐกิจแข็งแรง ประเทศไทยแข็งแรง 2565
การใช้มาตรการสาธารณสุขขับเคลื่อนและฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศไทยทุกมิต
พัฒนาศักยภาพสถานพยาบาลของรัฐให้รองรับสถานการณ์วิกฤตโรคระบาด โรคอุบัติใหม่
พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการแพทย์ปฐมภูมิทั้งเขตชุมชนและเขตเมือง
พัฒนาและเสริมศักยภาพโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เป็นศูนย์การสาธารณสุขประจำ
ตำบล ให้บริการส่งเสริม ป้องกัน ดูแล รักษา ฟื้นฟู
บูรณาการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบองค์รวมครบด้าน
พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพงานบริการ
พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการรักษามะเร็งทุกที
พัฒนาพืชสมุนไพร กัญชา กระท่อม ภูมิปัญญาไทย
พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)
นางสาวอภิชญา สับสงค์ รหัสนักศึกษา 62102301139 ชั้นปีที่ 4