Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thalassemia, D9137954-7EE2-4CA4-BF43-587ACDC2B03D, 24F6E03E-C9A9-4AB8-A02B…
Thalassemia
Diagnosis
- การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการซีดเรื้อรัง ประวัติครอบครัว !
- การตรวจร่างกาย อาการที่มักตรวจพบได้แก่ อาการซีด ตับ ม้ามโต เหลือง ใบหน้าแบบthalaasemia เป็นต้น
- การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ CBC ซึ่งมักพบว่ามีปริมาณต่ำทุกตัว นอกจากนั้นมักพบเม็ด เลือดแดงมีขนาดเล็กและติดสีจาง มีรูปร่างแตกต่างกัน การตรวจอื่นๆ เช่น การหาปริมาณ ฮีโมโกลบินในเลือด ได้แก่ Hb A, Hb A2 และ Hb F ซึ่งจะช่วยให้วินิจฉัยชนิดและความรุนแรง ของธาลัสซีเมียได้อย่างถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนการรักษาและควบคุมโรค
Nursing care
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 1 มีโอกาสติดเชื้อในระบบต่างๆ ของร่างกายเนื่องจากภาวะซีด และภูมิต้านทานบางชนิดต่ำ ภายหลังการผ่าตัดม้าม
เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่มีอาการแสดงของภาวะติดเชื้อในระบบต่างๆ ของร่างกาย ได้แก่ อาการไข้ ไอมีเสมหะ แผลฝี หนองที่ผิวหนัง ปัสสาวะขุ่นหรือแสบขัดขณะถ่าย อุจจาระเหลว อาการเจ็บปวดที่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย หนองที่ผิวหนัง ปัสสาวะขุ่นหรือแสบขัดขณะถ่าย อุจจาระเหลว อาการเจ็บปวดที่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
-
- ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการไม่พบเชื้อใดๆ
กิจกรรมการพยาบาล
- ดูแลความสะอาดของร่างกาย ผิวหนัง ปากฟัน เพื่อไม่ให้เป็นแหล่งสะสมของเชื้อโรค
- ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะให้ครบถ้วนและถูกต้องตามแผนการรักษา
- ใช้หลัก aseptic technique ในการให้การพยาบาล
- สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ ได้แก่ อาการไข้ ไอ มีเสมหะ ผิวหนังอักเสบ บวม แดง ร้อน สิ่งคัดหลั่งผิดปกติจากตา หู จมูก แผลติดเชื้อในปากและลำคอ อุจจาระเหลว ปัสสาวะ ขุ่นหรือมีอาการแสบขัดขณะถ่าย อาการปวดบวมอักเสบที่ข้อต่างๆ เป็นต้น
-
- สอนผู้ป่วยเด็กและครอบครัวเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ ได้แก่ การรักษาความ สะอาดของร่างกาย ปากฟัน และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น
-
-
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 3 มีโอกาสเกิดภาวะแทรกข้อนจากการได้รับเลือดบ่อยครั้ง เช่น กลุ่ม
อาการ HCC syndrome, อาการแพ้เลือด การมีธาตุเหล็กเกิน การติดเชื้อที่ปนมากับเลือด
-
เกณฑ์ประเมินผล
- ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติตามวัย
- ไม่มีอาการผิดปกติระหว่างได้รับเลือด เช่น อาการผื่นลมพิษ แน่นหน้าอก ไข้ หนาวสั่น ความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเบาเร็ว หรือความดันโลหิตสูง อาการชัก ซึม
- ไม่มีอาการแสดงของภาวะติดเชื้อที่ปนมากับเลือด เช่น อาการตัวตาเหลือง อ่อนเพลีย เนื่องจากไวรัสตับอักเสบ อาการไข้หนาวสั่นจากเชื้อมาลาเรีย
- ผลการตรวจเลือดทางห้องปฏิบัติการไม่พบเชื้อที่อาจปนมากับเลือด
- ไม่เกิดอาการแสดงของภาวะเหล็กเกินจนเกิดพยิสภาพ เช่น เบาหวาน ภาวะหัวใจวาย เนื่องจากกล้ามเนื้อหัวใจพิการ ผิวหนังสีคล้ำกว่าปกติ หน้าที่ของตับเสีย
- ระดับซีรั่มเฟอร์ริติน ไม่เกิน 1,000 mcg/l
กิจกรรมการพยาบาล
1.วัดและบันทึกสัญญาณชีพ ระหว่างให้เลือด ถ้าพบความดันโลหิตสูงเกินระดับปกติ 20 mmHg ให้หยุดให้เลือดทันที และรายงานแพทย์
- สังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ระหว่างที่ผู้ป่วยได้รับเลือด เช่น อาการเหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก ผื่น ลมพิษ ไข้ หนาวสั่น ซักหมดสติ หรือซึมลง ให้หยุดให้เลือดทันที และรายงานแพทย์
- ดูแลให้ได้รับยาบางชนิดก่อนให้เลือด เช่น ยาแก้แพ้ ยาแก้ไข้ ยาขับปัสสาวะ เป็นต้น
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับยาขับธาตุเหลีกตามแผนการรักษาอย่างถูกวิธี และดูแลไม่ให้ได้รับอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง ตลอดจนแนะนำเรื่องอาหารแก่ผู้ปกครอง
- สังเกตอาการผิดปกติที่เกิดจากการมีเหล็กเกินจนเกิดพยาธิสภาพ เช่น ภาวะหัวใจวาย อาการแสดงของเบาหวาน ได้แก่ ปัสสาวะบ่อย กินจุ และกระหายน้ำมากผิดปกติ สีผิวที่คล้ำมากขึ้น
- สังเกตอาการแสดงของภาวะติดเชื้อที่อาจปนมากับเลือด
- ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
อาการและอาการแสดง
- ชนิดรุนแรง (severe thalassemia, thalassemia major)
-
- ชนิดรุนแรงปานกลาง (thalassemia intermadia)
-
- ชนิดไม่มีอาการ (asymyomatic thalassemia, thalassemia minor)
-
-
-
-
โรคซีดทางพันธุกรรม ซีดเรื้อรังตั้งแต่กำเนิดและเป็นโรคซีดท่ีเกิดจากเม็ดเลือดแดงแตกท่ีพบบ่อยสุดในประเทศไทย
เกิดจากความผิดปกติของยีนท่ีควบคมุการสร้างเส้นโพลีเพปไทด์ alpha หรือ beta ที่ประกอบกนัเป็นฮีโมโกลบินทำให้การสร้างฮีโมโกลบินลดลงเม็ดเลือดแดงมีอายุสั้นส่ง ผลกระทบคือซีดเพิ่มการสร้างเม็ดเลือดนอกไขกระดูก>ตับม้ามโต>ม้ามทำลายเม็ดเลือดขาวมากเพิ่มการสร้างเม็ดเลือดขาวมาก>ตัวเหลือง นิ่วในถุงน้ำดี เพิ่มการสร้างเม็ดเลือดในไขกระดูก ทำให้กระดูกหน้าเปลี่ยน และเพิ่มการดูดซึมเหล็กทำให้เกิดภาวะเหล็กเกิน > เหล็กจับตามอวัยวะ เช่น หัวใจ ตับ ตับอ่อน เกิดภาวะหัวใจวาย ตับแข็ง เบาหวาน
-
-
-
-
-
-
อ้างอิง
Nursing Care of the Child with Hematologic and Neoplasm
ดร.มัณทนาวดี เมธาพัฒนะ
อ.จักรกฤช ปิจดี
การพยาบาลเด็กและวยัร่นุ ทีมีปัญหาระบบโลหิตวิทยา และมะเร็ง
(Nursing Care Of Hematology system Promblem and Cancer)
อาจารย์สุวรรณา มณีวงศ์