Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบประสาทที่ไม่ได้ เกิดจากการติดเชื้อ - Coggle Diagram
โรคระบบประสาทที่ไม่ได้ เกิดจากการติดเชื้อ
โรคหลอดเลือดในสมอง
(Cerebrovascular Disease/stroke : C.V.D./Stroke)
อาการและอาการแสดง
อาการของ Thrombosis
จะเกิดขึ้นๆ ประมาณร้อย 30-50 จะมีอาการสมองขาดเลือดไปเลี้ยงชั่วคราว
ไม่มีอาการหมดสติ นอกจากมีการอุดตันของหลอดเลือดใหญ่ มักมีอาการสับสน บางรายมีอาการปวดศีรษะ
ถ้่มีอาการอุดตันบางส่วนเลือดพอผ่านได้บ้าง อาจจะเกิดอาการเพียงชั่วขณะและฟื้นได้ในเวลาอันสั้นไม่เกิน 24 ชั่วโมง
อาการของEmbolism
อาการเกิดขึ้นทันทีทันใด ไม่มีอาการเตือนล่วงหน้าอาการเป็นช่วงที่หลับหรือตื่นอาการขึ้นอยู่กับหลอดเลือดที่ตัน
อัมพาตครึ่งซีกปวดศีรษะและรู้สึกตัวดีแต่พูดไม่ได้
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงไม่ได้
-อายุ : ในผูที่มีอายุมากกว่า 65 ปี เนื่องจากอายุมากขึ้นหลอดเลือดจะมีการแข็งตัวมากขึ้น และมีไขมันเกาะหนาตัวทาให้เลือดไหลผ่านได้ลาบากมากขึ้น
-เพศ : เพศชาย มีความเสี่ยงมากกว่าเพศหญิง
-ประวัติครอบครัวเป็นโรคหลอดเลือดสมองหรือโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยเฉพาะในขณะที่มีอายุยังน้อย
ปัจจัยที่เปลี่ยนแปลงได้
ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี่
โรคหัวใจ ทั้งโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือโรคลิ้นหัวใจต่างๆ
ความหมาย
โรคหลอดเลือดสมอง คือ ภาวะที่ทำให้เซลล์สมองถูกทำลาย ซึ่งมีสาเหตุมาจากหลอดเลือดสมองตีบ อุดตัน หรือแตก ทำให้ขัดขวางการลำเลียงเลือดซึ่งนำออกซิเจนและสารอาหารไปเลี้ยงเซลล์สมอง ส่งผลให้สมองสูญเสียการทำหน้าที่จนเกิดอาการของอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือร้ายแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้
การวินิจฉัยโรค
การซักประวัติและตรวจร่างกาย แพทย์จะซักประวัติการรักษา อาการ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ตรวจร่างกายทั่วไป และตรวจร่างกายทางระบบประสาท
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ การตรวจเลือดต่างๆ
การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง (CT Scan) เพื่อดูว่าสมองมีลักษณะของการขาดเลือดหรือเกิด เลือดออกในสมองหรือไม่
การใช้ยาเพื่อการรักษา
ยาละลายลิ่มเลือด (anticoagulant)
ยาลดไขมัน (statin)
ยาต้านเกล็ดเลือด (antiplatelet)
ยาลดความดันโลหิต
ยารักษาโรคเบาหวาน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
การกาซาบออกซิเจนของสมองลดลง เนื่องจากสมองได้รับเลือดไปเลี้ยงไม่เพียงพอจากหลอดเลือดสมองตีบตันหรืออุดตัน
การพยาบาล
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการจัดท่านอน หงาย/ตะแคง ให้ออกซิเจนใส่ air way และให้ออกซิเจน
ตรวจสอบสญัญาณชีพและประเมินอาการทาง ระบบประสาท ทุก 1 – 2 ชั่สโมง ตามสภาพของร่างกายผู้ป่วยและรายงานแพทย์เมื่อมีอาการ เปลี่ยนแปลงที่เลวลง ได้แก่ ระดับความรู้สึกตัวเลวลง รูม่านตาขยายพูดไม่ได้แบบแผนการหายใจบกพร่อง
ให้ยาเพื่อเพิ่มการกาซาบออกซิเจนของสมองตาม แผนการรักษา เช่น ยาต้านการแข็ง ตัวของเลือด
ติดตามผลการิเคราะห์ก๊าซในเลือดและเฝ้าสังเกต/ ประเมินอาการขาดออกซิเจนและมี CO2 คั่ง
ติดตามผลการตรวจเลือด เช่นการตรวจค่า Hct, Electrolyte, PTT
เนื้องอกในสมอง(Brain Tumer)
ความหมาย
เนื้องอกในสมอง (Brain Tumor) คือ เนื้อที่เกิดจากการเจริญเติบโตอย่างผิดปกติของเซลล์ในสมองหรือบริเวณเนื้อเยื่อและต่อมต่าง ๆ บริเวณใกล้เคียงกับสมอง ซึ่งอาจรบกวนระบบประสาทและการทำงานของสมอง
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
อายุ
ประวัติบุคคลในครอบครัวที่เคยมีเนื้องอก
ในสมอง
รังสีอันตราย
อาการและอาการแสดง
อาการปวดศีรษะ เป็นอาการที่พบได้บ่อย
อาการอ่อนแรงของร่างกายส่วนใดส่วนหนึ่ง หรือมีการทำงานของเส้นประสาทบางเส้นอ่อนแรงไป
อาการที่เกิดจากมีการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท เช่น อาการกระตุก ชัก
การวินิจฉัยโรค
การตรวจสมองโดยใช้เครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
การรักษา
การฉายแสง (Radiation Therapy)
รังสีศัลยกรรม (Radiosurgery
การผ่าตัด
เคมีบำบัด (Chemotherapy)
การให้ยาเจาะจงเซลล์มะเร็ง เช่น
ใช้ยาบีวาชิซูแมบ (Bevacizumab)
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ เนื่องจากเน้ืองอกไปกดหลอดเลือดในสมอง
การพยาบาล
1.การเตรียมทางด้านจิตใจอธิบายวิธีการผ่าตัดภาวะแทรกซื้อนที่อาจจะเกิดขึ้น
2.การเตรียมร่างกาย ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการตรวจเพื่อการวินิจฉัย
3.การเตรียมด้านอื่นๆ เช่น งดน้ำงดอาหารก่อนผ่าตัด 6-8 ชั่วโมง