Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทยอายุ 36 ปี ถึงER ตอนเวลา 10.14 น.
CC: Pt.ถูกสัตว์ไม่ทราบชนิ…
- ผู้ป่วยชายไทยอายุ 36 ปี ถึงER ตอนเวลา 10.14 น.
- CC: Pt.ถูกสัตว์ไม่ทราบชนิดกัดมา 30 นาที ก่อนมาโรงพยาบาล V/S แรกรับ R 20 ครั้ง/นาที P 60 ครั้ง/นาที BP 98/50 mmHg O2 sat 99% GCS = E4V5M6
- PI: 9.44 น. ถูกสัตว์ไม่ทราบชนิดกัดที่บริเวณหลังเท้าซ้าย มีอาการปวดท้อง แน่นท้อง แน่นหน้าอก อาเจียน 2 ครั้ง ปวดบริเวณแผลมาก อาการไม่ดีขึ้นจึงมาโรงพยาบาล
- PH: มีโรคประจำตัวโรคหัวใจ ไม่เคยได้รับอุบัติเหตุ ไม่เคยได้รับการผ่าตัด ไม่แพ้ยาแพ้อาหาร
- Pt.มีอาการอาเจียนเป็นเลือดสด 500 ปวดบริเวณหลังเท้าซ้ายมาก ปวดท้อง แน่นท้อง แน่นหน้าอก Plt = 10,000 cell/mm3 VCT > 25 นาที
Snake Bite
Hematotoxin
- มีเลือดออกตามระบบ
- Venous clotting time (VCT) > 20 minute
- Plt < 50,000 cell/mm3
- มีอาการปวดเฉพาะที่อย่างรุนแรง
Pt.มีอาการในระบบเลือด Hematotoxin
- มีเลือดออกในระบบทางเดินอาหาร อาเจียนเป็นเลือดสด 500 ml
- Venous clotting time : VCT > 25 minute
- Plt = 10,000 cell/mm3
- มีอาการปวดบริเวณหลังเท้าซ้ายมาก
Neurotoxin
- มึนงง เวียนศีรษะ หนังตาตก ลืมตาไม่ขึ้น
- ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น อ่อนเพลีย หมดแรง กระวนกระวาย
- หายใจลำบาก
- หมดสติ
- ตาย
Myotoxin
- ปวดเมื่อยตามแขนขา ลำตัว เอี้ยวคอลำบาก
- กลอกตาไม่ได้
- ไม่สามารถเคลื่อนไหวแขน ขา และร่างกายได้
- กล้ามเนื้ออักเสบรุนแรง
- ระบบปัสสาวะล้มเหลว (ปัสสาวะเป็นสีน้ำโค้ก)
- ระบบหายใจล้มเหลว
-
Dx.Green Pit Viper
-
ทฤษฎี
พยาธิสภาพ
- viper พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น thromboplastin-like กล่าวคือ จะกระตุ้น factor X และเปลี่ยน โปรธร็อมบิน ให้กลายเป็น ธร็อมบิน ใน common pathway ของกระบวนการแข็งตัวของเลือด (coagulation cascade) ธร็อมบินที่เกิดขึ้นจะไปกระตุ้น ไฟบริโนเจน ให้เป็น ไฟบริน และไปกระตุ้น แฟดเตอร์ XIII ซึ่งจะทำให้ เกิดเป็นลิ่มเลือดทั่วทั้งร่างกายที่เรียกว่าภาวะเลือดจับลิ่มในหลอดเลือดแพร่กระจาย (disseminated intravascular coagulation, DIC) จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปรกติ และยังมีการลดลงของเกล็ดเลือดจากภาวะ DIC อีกด้วย
- pit-viper พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น thrombin-like กล่าวคือจะกระตุ้น ไฟบริโนเจน ให้เป็นไฟบรินแต่เป็นเพียง fibrin monomer ไม่เกิด cross-linked fibrin จึงไม่มีภาวะ DIC ภาวะเลือดออกผิดปรกติเกิดจากการที่ ไฟบริโนเจน ถูกใช้ไปหมด นอกจากนี้พิษงูยังมีผลทำลายเกล็ดเลือด ให้มีการลดลงของเกล็ดเลือดด้วย
อาการและอาการแสดง
- มีอาการเลือดออกผิดปกติ ได้แก่ เลือดออกจากแผลรอยกัดมาก, มีจ้ำเลือดบริเวณแผล, เลือดออกตามไรฟัน, จุดเลือดตามตัว, ปัสสาวะเป็นเลือด, อาเจียนเป็นเลือด
- อาการเลือดออกผิดปกติมักไม่รุนแรง แต่อาการที่บริเวณแผลงูกัดจะรุนแรง
การรักษา
- หยุดการเคลื่อนไหวบริเวณที่่ถูกกัด
- ให้ยาแก้ปวด ไม่ให้แอสไพรินในผู้ที่ถูกงูระบบเลือดกัด
- งูเขียวหางไหม้ ให้เซรุ่ม 50 มล. ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที
- รักษาภาวะฉุกเฉิน เช่น ภาวะช็อค anaphylactic shock การหยุดหายใจ
กรณีศึกษา
พยาธิสภาพ
- pit-viper พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะ เป็นthrombin-like กล่าวคือจะกระตุ้น ไฟบริโนเจน ให้เป็นไฟบรินแต่เป็นเพียง fibrin monomer ไม่เกิด cross-linked fbrin จึงไม่มีภาวะ DIC ภาวะเลือดออกผิดปกติเกิดจากการที่ ไฟบริโนเจน ถูกใช้ไปหมด นอกจากนี้พิษงูยังมีผลทำลายเกล็ดเลือด ทำให้มีการลดลงของเกล็ดเลือดด้วย
อาการและอาการแสดง
- อาเจียนเป็นเลือดสด 500 ml
- มีอาการปวดบวมบริเวณหลังเท้าซ้ายมาก
การรักษา
- Antivenum green pit viper 3 vial + NSS 100 ml IV
- VCT q 6 hr. + notify
- bleeding precaution
- งดอาหารดำ/แดง
- bed rest
- PCM 500 mg 1 tab po prn. q 6 hr.
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-