Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคที่มีความเสื่อมของ ระบบประสาท - Coggle Diagram
โรคที่มีความเสื่อมของ
ระบบประสาท
โรคปลอกประสาทเสื่อมแข็งหรือโรคเอ็มเอส
(MS:Multiplesclerosis/Disseminated sclerosis)
ความหมาย
เกิดจากระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายทำลายปลอกประสาทที่อยู่ล้อมรอบและปกป้องใยประสาทจนเกิดแผลที่เนื้อเยื่อบริเวณดังกล่าว ก่อให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น การทรงตัว การควบคุมกล้ามเนื้อ และการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์ในครอบครัวที่เป็นโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
การติดเชื้อไวรัสพวก เช่น หัด เยอรมัน คงทูม
กลุ่มโรคออโตอิมูนเนื่องจากการตรวจพบอิมมูนที่ผิดปกติในน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
1.ความผิดปกติที่ประสาทจะทำให้ลูกตาสั่น (nystagmus)
2.รีเฟลกซ์ผิดปกติ เช่น รีเฟลกซ์เหยียด
3.อาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อครึ่งซีกหรือทั้งตัว
4.การรับความรู้สึกเกี่ยวกับความสั่นสะเทือน และการทรงตัวบกพร่อง
5.มีความผิดปกติด้านจิตใจ จะพบภาวะซึมเศร้า
6.การเคลื่อนไหวผิดปกติ (มีอาการสั่นเมื่อตั้งใจหรือเดินเซ)
7.สูญเสียการรับรู้ความรู้สึกเดี่ยวกับสัมผัส เจ็บปวด
8.มีอาการช้า และเจ็บปวด
9.กระเพาะปัสสาวะอาหารสูญเสียหน้าที่
การวินิจฉัยโรค
ตรวจระบบประสาทของร่างกาย
ตรวจเลือด
เจาะน้ำไขสันหลัง
การทำ MRI
ตรวจการตอบสนองทางไฟฟ้าของระบบประสาท
การรักษา
1.ให้ ACTH ฮอร์โมน (Adrenocorticotrophic hormone)
2.ใหย้านอนหลับเช่นบาร์บิทูเรต
3.ใหก้ารดูแลเรื่องการขับถ่ายปัสสาวะ
4.ให้ฟีนอล(Phenol)
5.ให้อาหารที่มีโปรตีนวิตามินบี12และซีสูง
การวินิจฉัยการพยาบาล
มีความวิตกกังวลสูง เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงภาวะสุขภาพหรือบทบาทหน้าที่
แนะนำให้ทาจิตใจให้สบายและส่งเสริมผู้ป่วยได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ หลีกเลี้ยงสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด
จัดให้อยู่ในท่ี ๆ อากาศเย็นอาจวางผ้าเย็นหรือกระเป๋าน้ำแข็ง ถ้ามีไข้จะกระตุ้นให้อการเป็นมากขึ้นรักษาสาเหตุท่ีทำให้ติดเชื้อดูแลให้หายใจสะดวก (อากาศร้อน จะทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงมากขึ้น)
3.ช่วยให้ผู้ป่วยได้ออกกาลังหรือข้อตาม สมควรเพื่อป้องกันข้อบิดเกร็งหรือติดแข็ง
4.ช่วยทำกิจกรรมท่ีจำป็น เช่น เช็ดตัว อาบน้ำป้อนอาหาร หวีผม
5.ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถเผชิญกับ ความเครียดนั้น
โรคมัยแอสทีเนียกราวิส (Myasheniagravis:MG)
ความหมาย
มัยแอสทีเนียกราวิส:MG เป็นโรคของระบบอิมมูนที่เกิดจากการสูญเสีย Achreceptersใน postsynaptic neuron ที่รอยต่อระหว่างประสาทและกลา้มเนื้อซึ่งมีผลตอ่เซลล์ประสาทท่ีควบคุมการเคลื่อนไหวส่วนล่าง(LowerMotor Neurone)และทำให้เกิดกล้ามเนื้ออ่อนแรง (muscle weakness)
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
สาหตุที่แท้จริงไม่ทราบแน่นอนแต่โรคนี้มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับโรครูมาตอยด์ เอสแอลอี(SLE)โรคของต่อมไทรอยด์ เบาหวาน จึงเชื่อว่าน่าจะเกี่ยวกับระบบออโตอิมมูน (Autoimmune)
อาการและอาการแสดง
1.กล้ามเนื้อกลุ่มที่ไปเลี้ยงตาด้านนอก (external ocular muscle) เช่น หนังตาตก
2.พบกล้ามเนื้อในบัลบาร์ (bulbar muscle) ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับ
การกลืน การพูด และการเคี้ยวอาหารก็มักจะมีอาการอ่อนแรงด้วย
3.กล้ามเนื้ออื่น ๆ เช่น กล้ามเนื้อหน้า กล้ามเนื้อหน้าอก ขาท่อนบน
การวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากได้รับอาการไม่เพียงพอ/ได้รับ ยาสเตอรอยด์
การพยาล
การได้รับยาสเตอรอยด์ ซึ่งจะกดภูมิคุ้มกันทำให้ติดเชื้อได้ง่าย เช่น ปอดบวม จึงต้องดูแลความสะอาดของช่องปากเสมอ ๆ วัดอุณหภูมิทุก 4ชั่วโมง เปลี่ยนท่านอนทุก 1 – 2 ชั่วโมง ดูแลความ สะอาดของทางเดินปัสสาวะ กระตุ้นให้หายใจลึก ๆ และไอ
การรักษา
1.รักษาทางยา ยาที่ใช้คือ Neostigmine, Prosticmineและ pyridostigmine (mestinon)
2.ทำผ่าตัดต่อมไทมัสในรายที่เป็นเน้ืองอก (ซึ่งพบได้ร้อยละ 10) จะได้ผลดีในหญิงอายุน้อยกว่า 35 ปี และเป็นในระยะสั้น
3.การเปลี่ยนพลาสมา (plasma pheresis)
โรคกิแลง เบอร์เร่ (Guillain BerreSymdrome)
ความหมาย
Guillain – Berre Syndrome เป็นกลมุ่ อาการท่ีเกิดขึ้น
อย่างเฉียบพลันโดยมีอัมพาต ของมอเตอร์นิวโรนส่วนล่าง ทำให้มีอาการอ่อนแรงแบบปวกเปียก (Flaccidity) และ สูญเสียรีเฟลกซ์ ซึ่งเป็นผลมาจากการอักเสบ และมีการทำลายของปลอกหุ้มประสาท (Demyelination) ของระบบประสาทส่วนปลาย
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
เชื่อว่าเกิดจากปฏิกิริยาแพ้ (Allergy) หรือการตอบสนองแบบภูมิต้านทางตนเอง (Autoimmune) ซึ่งเก่ียวเนื่องกับการติดเชื้อ
เชื่อว่า Sensitized T Lymphocyte อาจเป็นสาเหตุทำให้ เกิดการทำลายปลอกหุ้มประสาท
ส่วนใหญ่มักเป็นการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ และทางเดินหายใจและทางเดินอาหาร ซึ่งเป็นเชื้อไวรัส
อาการและอาการแสดง
2.อาการของกล้ามเนื้ออ่อนแรง อาการอ่อนแรงจะเกิดหลังอาการชา โดยเริ่มที่ชา ๅอ่อนแรง เดินลำบาก อาการอ่อนแรงจะลุกลามอย่างรวดเร็วและลุกลามที่แขนและลำตัว
อาการทางประสาทสั่งงานทำให้การทำงานของเส้นประสาทสมองที่มาควบคุมการทำงานของกล้ามเน้ือบริเวณหน้าบกพร่อง
1.อาการด้านประสาทรับความรู้สึก จะปรากฏอาการหลังจาก มีการติดเชื้อ 1–3สปัดาห์ ผู้ป่วยจะเร่ิมมอีาการชาเหน็บ(Tingling) และเจ็บ โดยเฉพาะปลายแขน ขา หลังจากนั้น1 – 4 วันมีอาการปวด
การวินิจจฉัยโรค
1.ลักษณะทางคลินิกที่เป็นลักษณะเด่นคือ
อาการอ่อนแรงอย่างเฉียบพลัน
2.การวิเคราะหท์างห้องปฏิบัติการ
จากการตรวจน้ำไขหลัง
3.การตรวจการนำกระแสประสาท (Nerve Conduction)
การรักษา
1.รักษาประสิทธิภาพของการหายใจ
2.ให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดและยาป้องกันการเกิดลิ่มเลือดในรายที่เคลื่อนไหว
3.ให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอหรือมีภาวะโภชนาการท่ีดี
การวินิจฉัยการพยาบาล
ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายและทำกิจกรรมได้ตามปกติเนื่องจากทีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ
การพยาบาล
ประเมินการเคลื่อนไหว ความแข็งแรง ของกล้ามเนื้อและประสาทรับความรู้สึก ทุกชั่วโมงหรือเมื่อจาเป็น
ทำ Passive exercise แนะนำญาติในการ Passive exercise เพื่อช่วยรักษาหน้าท่ีของข้อต่อและป้องกันการหดร้ังของกล้ามเน้ือ
แนะนำผู้ป่วยในการทำ Active Exercise เพื่อช่วยรักษาหน้าท่ีของข้อต่อและป้องกันการหดร้ังของกล้ามเน้ือ
เปลี่ยนท่านอนทุก 2 ชั่วโมง เพื่อป้องกันแผลกดทับปอดบวมและการกดทับประสาทส่วนปลาย
5.จัดท่ารองรับกล้ามเนื้อข้อต่อ แขนขา ให้พอเหมาะและพลิกตัวโดยการรองรับที่ดีเพื่อช่วยป้องกันการทำลายของปลายประสาท
ดูแลประคับประคองกล้ามเน้ือแขน ขา สะโพกและลำตัวเวลาพลิกตะแคงตัวเพื่อลดความเจ็บปวดของกล้ามเนื้อที่อ่อนแรงปวกปียก