Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนพัสุขภาพแห่งชาติ - Coggle Diagram
แผนพัสุขภาพแห่งชาติ
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ฉบับที่8 (พ.ศ.2540-2544)
•เน้น คน เป็นจุดศูนย์กลางของการพัฒนา
•เพื่อให้การพัฒนาสาธารณสุขมีความสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง จึงได้กำหนดภาพลักษณ์สุขภาพของคนไทยที่พึงประสงค์ ตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิในครรภ์มารดาจนกระทั่งวาระสุดท้ายของชีวิต คือ คนไทยทุกคน ไม่จำกัดในเรื่องเพศ อายุ อาชีพ ศาสนา ถิ่นที่อยู่ เชื้อชาติ การศึกษา และฐานะทางเศรษฐกิจ เป็นคนที่มีความปกติสุข ทั้งทางกาย ทางใจ และทางสังคม
การอยู่ไฟ
การดื่มน้ำสมุนไพร
1.น้ำขิง มีสรรพคุณแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ช่วยขับลม ช่วยลดการจับตัวของลิ่มเลือดและน้ำย่อยต่างๆ และน้ำขิงยังเป็นส่วนผสมในอาหารลดไขมันเพราะสามารถช่วยลดคอเลสเตอรอลในเส้นเลือดได้
2.น้ำตะไคร้หอม ช่วยแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ อาการจุกเสียด ช่วยขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ ช่วยลดความดันโลหิต
3.น้ำใบบัวบก มีวิตามินเอสูงจึงช่วยบำรุงสายตาได้ดี ช่วยแก้ร้อนใน กระหายน้ำ แก้อาการช้ำใน
4.น้ำมะตูม เป็นยาขับลม แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยย่อยอาหาร บำรุงธาตุ ช่วยเจริญอาหาร
การนวดประคบ
การแต่งแก้เสียเคราะห์
การสู่ขวัญ
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ฉบับที่1 (พ.ศ.2504-2509)
เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุข ได้แก่โรงพยาบาลและสถานีอนามัย ให้เป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเทศ มีการก่อสร้างโรงพยาบาลใหม่ๆเพิ่มขึ้นหลายแห่ง แต่ยังไม่เน้นหนักในส่วนภูมิภาคเท่าที่ควร สำหรับงานด้านอนามัยปราบปรามและควบคุมโรคติดต่อนั้นได้ดำเนินการได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ ยกเว้นในเรื่องการแก้ไขปัญหาขาดแคลนแพทย์และพยาบาลในชนบทห่างไกล
แผนพัฒนาสาธารณะสุขแห่งชาติ ฉบับที่2 (พ.ศ.2510-2514)
• การพัฒนาสารธารณาสุขในระยะนี้ยังคงมีลักษณะที่รัฐยื่นบริการให้ประชาชน โดยประชาชนเป็นฝ่ายรับด้านเดียว การรักษาพยาบาล การป้องกันโรคยังคงเป็นการดำเนินงานค่อนข้างแยกกันโดยรัฐมีนโยบายจะเร่งส่งเสริมและขยายขอบเขตการปฏิบัติงานด้านสาธารณะสุขให้ครอบคลุมทั่วประเทศ และมุ่งที่จะให้บริการสาธารณะสุขไปถึงประชาชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งเขตชนบทห่างไกลการคมนาคมให้มากที่สุด
•เน้นการวางแผนกำลังคนและการกระจายการพัฒนาสู่ชนบท เร่งรัดการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุข
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ฉบับที่3 (พ.ศ.2515-2519)
• มีความแตกต่างจากสองแผนแรกอย่างเห็นได้ชัด คือ มีการกล่าวถึงการพัฒนาบริการสาธารณสุขแบบผสมผสาน และให้ความสำคัญต่อความร่วมมือของประชาชนในการแก้ปัญหาสาธารณสุขและมีการกล่าวถึง การลดอัตราเพิ่มของประชากร ในโครงการวางแผนครอบครัวในฉบับนี้ด้วย
•พ.ศ.2517 มีการปรับปรุงส่วนราชการของกระทรวงสาธารณสุขครั้งใหญ่ โดยเป็นการเปลี่ยนแปลงการบริหารสาธารณสุขทั้งระบบ กล่าวคือมีการกระจายอำนาจออกไปสู่ส่วนภูมิภาคแทนการรวมอำนาจไว้ที่ส่วนกลาง
•มีนโยบายการให้บริการรักษาพยาบาลฟรี แก่ผู้รายได้น้อยเป็นครั้งแรก พ.ศ.2518
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ฉบับที่4 (พ.ศ.2520-2524)
•มุ่งเการแก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข การให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสานแก่ประชาชนอย่างถั่วถึงโดย เริ่มตั้งเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543 โดยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐาน ในพ.ศ.2522โรคติดต่อบางอย่างลดลงจนไม่เป็นปัญหาเช่น กาฬโรค ไข้ทรพิษ ประชาชนในชนบทยังมีสุขภาพอนามัยไม่ดีเนื่องจากอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ขาดแคลนน้ำสะอาดในการบริโภคและมีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
แผนการพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ฉบับที่5 (พ.ศ.2525-2529)
•ให้ความสำคัญด้านการกระจายบริการสาธารณสุขออกไปสู่ท้องถิ่นชนบท ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่ประชาชน โดยอาศัยแนวคิดการพัฒนาสาธารณสุขที่มีจุดเด่น 5 ประการดังนี้
1.ยึดจุดมุ่งหมายเพื่อให้บรรลุ "สุขภาพดีถ้วนหน้าในปี2543"
2.การใช้สาธารณสุขมูลฐานเป็นมาตราการหลักในการพัฒนาสาธารณสุข
3.การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข
4.การมุ่งดำเนินงานแบบผสมผสานระหว่างสาขามากขึ้น เพราะงานสาธารณสุขต้องอาศัยรากฐานของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจและสังคมควบคู่ไปพร้อมกัน
5.การให้ความสำคัญแก่พื้นที่เป้าหมายแบะประชากรกลุ่มอายุที่มีปัญหาสาธารณสุข หรือมีอัตราการเสี่ยงต่อโรคสูงกว่ากลุ่มอื่น
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ฉบับที่6 (พ.ศ.2530-2534)
•ขยายสถานบริการสาธารณสุขให้ครบตามเป้าหมาย การยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาและการรณรงค์ควบคุมโรคเอดส์เพื่อไม่ให้กระทบต่อความมั่นคงของชาติ และเริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ ประชาชนมีอายุยืนยาวขึ้นเป็น 60.8ปี และ 64.8 ปีในเพศชายและเพศหญิงตามลำดับ อัตราการตายของมารดาและทารกลดลงสถานบริการสาธารณสุขครอบคลุมครบจนถึงระดับอำเภอ/ตำบล ให้ความสำคัญกับปัญหาสาธารณสุขใหม่คือเอดส์ อุบัติเหตุ หัวใจ มะเร็ง สุขภาพจิต
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติ ฉบับที่7 (พ.ศ.2535-2539)
•โดยภาพรวมมีวัตถุประสงค์หลักที่จะรักษาอัตราการเจริญทางเศรษฐกิจที่สูงอย่างต่อเนื่องเน้นที่การกระจายรายได้สู่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสและเน้นการพัฒนาในพื้นที่เฉพาะเช่น พื้นที่เขตเศรษฐกิจใหม่ พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก และเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และคุณภาพชีวิต ตระหนักถึงภัยของปัญหาสิ่งแวดล้อมและคำนึงถึงการพิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
•ในแผน7 ได้มีการเร่งรัดเพื่อบรรลุเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้าก่อนสิ้น พ.ศ.2543 ตามเกณฑ์ จปฐ. อีกทั้งได้มีการจัดตั้งศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน ในตำบลที่ อสม. และชุมชนก็ได้มีบทบาทเพิ่มขึ้น โดยกระทรวงสาธารณสุขได้ให้รางวัลอสม.เป็นสางจูงใจ คือการให้ อสม.และครอบครัวได้รับการรักษาโดยไม่เสียเงินทั้งครอบครัว ซึ่งแต่เดิมมีเพียง อสม.เท่านั้นที่ได้รับสิทธิ์นี้
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่9 (พ.ศ.2545-2549)
•เน้นสุคือสุขภาพวะ
•พัมนาระบบสุภาพทั้งระบบ
•ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ เป็น "ระบบสุภาพพอเพียง"
•ภาพลักษณ์ของสังคมและระบบสุภาพที่พึงประสงค์เริ่มกำหนดวิสัยทัศน์และยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ
วิสัยทัศน์ : "คนในสังคมไทยทุกคนมีหลักประกันที่จะดำรงชีวิตอย่างมีสุขภาวะ และเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ อย่างเสมอภาค รวมทั้งอยู่ในครอบครัว ชุมชน และสังคมที่มีความพอเพียงทางสุขภาพ ดดยสามารถใช้ประโยชน์ทั้งจากภูมิปัญญาสากล และภูมิปัญญาไทยได้อย่างรู้เท่าทัน"
การพัมนาเพื่อบรรลุสู่สังคมแห่งสุขภาวะมี 10 เป้าหมายคือ
1.การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค
2.คนไทยทุกคนมีหลักประกันสุขภาพ
3.การสร้างความเสมอภาคทางด้านสุขภาพ
4.การปรับบทบาทภารกิจและโครงสร้างองค์กร/กลไกของรัฐในการพัมนาสุขภาพ
5.การสนับสนุนการกระจายอำนาจด้านสุขภาพ
การพัฒนาเพื่อบรรลุสู่สังคมแห่งสุขภาวะ
6.การพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพของประชาชน ครอบครัว ชุมชน ประชาคม
7.การพัฒนาสถานบริการสาธารณสุขระดับต้นทั้งเขตเมืองและชนบทโดยเชื่อมโยงกับระบบบริการขั้นสูง
8.การพัฒนาคุณภาพสถานบริการสาธารณสุข
9.การสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทางปัญญาของระบบสุภาพโดยเน้นการแพทย์แผนไทยสมุนไพรและการแพทยืทางเลือกทั้งจากภูมิปัญญาไทยและสากล
10.การสนับสนุนอุตสาหกรรมสุขภาพยุทธศาสตร์การพัฒนามี 6 ยุทธศาสตร์
1) เร่งการสร้างสุขภาพเชิงรุก
2) การสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
3) ปฏิรูประบบโครงสร้างและกลไกการบริหารจัดการระบบสุภาพ
4)การสร้างความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมเพื่อสุขภาพ
5)การบริหารจัดการความรู้สึกและภูมิปัญญาเพื่อสุขภาพ
6) การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและระบบสุภาพใหม่
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่10 (พ.ศ.2550-2554)
•น้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพและยึดหลักการสุขภาพดี เป็นผลจากสังคมดี
•วิสัยทัศน์ : มุ่งสู่ระบบสุภาพพอเพียง เพื่อสร้างให้สุขภาพดีบริการดี สังคมดี ชีวิตดี ความสุขอย่างพอเพียง
•พันธกิจ : สร้างเอกภาพทางความคิดสร้างจิตรสำนึกสุขภาพใหม่สร้างระบบจัดการที่โปร่งใส สร้างกลไกการมีส่วนร่วมในการพัฒนา
ยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ได้แก่
1.การสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการจัดระบบสุภาพ
2.การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตที่มีความสุขในสังคมแห่งสุขภาพวะ
3.การสร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ผู้รับบริการอุ่นใจผู้ให้บริการมีความสุข
4.การสร้างระบบภูมิคุ้มกันเพื่อลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ
5.การสร้างทางเลือกสุภาพที่หลากหลาย ผสมผสานภูมิปัญญาไทยและสากล
6.การสร้างระบบสุภาพฐานความรู้ในการจัดการความรู้
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่11 (พ.ศ.2555-2559)
•มุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการอภิบาลระบบสุภาพ ให้ความสำคัญกับการสร้างกระบวนกวน การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมมุ่งเน้นการสร้างหลักประกันและการจัดบริการที่ครอบคลุมเป็นธรรมเห็ณค่าของการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
•วิสัยทัศน์ : "ประทุกคนมีสุขภาพดีร่วมสร้างระบบสุขภาพพอเพียงเป็นธรรมนำสู่สังคมสุขภาวะ"
•พันธกิจ : พัฒนาระบบสุขภาพพอเพียงโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยคุกคาม และสร้างเสริมการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
ยุทการพัฒนามี 5 ยุทธศาสตร์ ได้แก่
1.เสริมสร้างความแข็งแรงของภาคีสุขภาพ ในการสร้างสุขภาพ
2.ประสานพัฒนาระบบเฝ้าระวังเตือนภัยและการจัดการภัยพิบัติอุบัติเหตุและภัยสุขภาพ
3.มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคควบคุมโรคและคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพเพื่อให้คนไทยแข็งแรงทั้งร่างกายจิตใจสังคมและปัญญา
4.เสริมสร้างระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดับเพื่อตอบสสนองต่อปัญหาสุขภาพในทุกกลุ่มเป้าหมาย
5.สร้างกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่12 (พ.ศ.2560-2564)
สถานการณ์และปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาสุขภาพ
•การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็วของประเทศไทยอันเนื่องมาจาก การลดลงของภาวะเจริญพันธ์หรือการเกิดน้อยลง และภาวะการณ์ตายลดลง คนไทยอายุคาดเฉลี่ยยืนยาวขึ้น การเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยา ทำให้รูปแบบของภาระโรคเปลี่ยนจากโรคติดเชื้อไปเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
วสัยทัศน์: ระบบสุภาพไทยเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุภาพดีสร้างประเทศให้มั่นคง
พันธกิจ: เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและภาคประชาสังคม
ยุทการพัฒนาสุขภาพ 4 ยุทธศาสตร์
1.เร่งการเสริมสร้างสุภาพคนไทยเชิงรุก
2.สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
3.พัมนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการกำลังคนด้านสุภาพ
4.พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุภาพ