Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลโรคติดเชื้อในสตรีตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การพยาบาลโรคติดเชื้อในสตรีตั้งครรภ์
โรคหัดเยอรมันกับการตั้งครรภ์
(Rubella /German measles with Pregnancy)
จากเชื้อ Rubella virus
ผ่านทางเดินหายใจ
ระยะฟักตัว 14 – 21 วัน
ระยะติดต่อ ก่อนออกผื่น 7 วัน และหลังออกผื่น 4 วัน
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำ ๆ ครั่นเนื้อครั่นตัว เบื่ออาหาร ตาแดง
ไอ เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองหลังหูโต
อาจปวดข้อ เป็นไข้ 1-2 วัน
มีผื่นเป็นตุ่มเล็กๆ สีแดง
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
ถ้าติดเชื้อจากมารดาไปยังทารกในครรภ์ จะทำให้เกิดการแท้ง ทารกตายคลอด ทารกพิการแต่กำเนิด
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อหัดเยอรมันแก่สตรีวัยเจริญพันธ์ และคุมกำเนิดหลังได้วัคซีนอย่างน้อย 3 เดือน
สตรีที่มาฝากครรภ์ถ้ายังไม่มีภูมิคุ้มกัน แนะนำให้หลีกเลี่ยงการ เข้าชุมชนในช่วงที่มีการระบาดของเชื้อหัดเยอรมัน/เลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่สงสัยเป็นพาหะ
แนะนำให้ฝากครรภ์สม่ำเสมอ และมารับการตรวจที่ทันทีที่สงสัยว่ามีการติดเชื้อหัดเยอรมัน
ประเมินภาวะสุขภาพเกี่ยวกับการได้รับภูมิคุ้มกันโรคหัดเยอรมัน การสัมผัสกับผู้ที่เป็นโรค และอาการแสดงของโรค
เปิดโอกาสให้ได้ระบายความรู้สึกและซักถามข้อสงสัย
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดำเนินของโรค ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์และต่อทารกในครรภ์
กรณีท่ีตัดสินใจที่จะยุติการตั้งครรภ์เตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อม
สตรีท่ีไม่มีภูมิคุ้มกันหรือไม่เคยฉีดวัคซึนควรได้รับการฉีดวัคซีนหลังคลอดทุกราย
โรคตับอักเสบกับการตั้งครรภ์
Hepatitis A virus (HAV)
ติดต่อโดยการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนเชื้อ
ระยะฟักตัว 2 – 7 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ
ไม่มีตัว ตาเหลือง
Alkaline phosphatase เพิ่มขึ้น
ผลกระทบต่อมารดาและทารก
การตั้งครรภ์ อาจเกิด preterm labor
ทารกจะมีภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ HAV ไป จนถึง 6-9 เดือน
ติดเชื้อระยะใกล้คลอด อาจแพร่เชื้อไปยังทารกในระยะคลอดและหลังคลอด
การรักษา
เชื้อ HAV ไม่ผ่านรก แต่ถ้าติดเชื้อใกล้คลอด ให้ immune serum globulin (ISG) แก่มารดาเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อสู่ทารก
ทารกให้ ISG ขนาด 0.5 mg.
ผลของโรคต่อมารดาและทารกในครรภ์
เชื้อผ่านสู่ทารกได้น้อยมาก
ไม่เกิดความพิการในทารก
รายที่มีอาการรุนแรง เกิด preterm labor, อัตราการตายปริกำเนิด, อัตราตายมารดา
การพยาบาล
อธิบายให้สตรีตั้งครรภ์และครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา การดูแลตนเองที่เหมาะสม
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัว
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ ได้แก่ acetaminophen และเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย
มาตรวจตามนัด
Hepatitis B virus (HBV)
เกิดจากเชื้อ Hepatitis B virus
ระยะฟักตัวนานประมาณ 50-180 วัน
เป็นพาหะได้อย่างเรื้อรัง
การได้รับเชื้อ
เพศสัมพันธ์
สัมผัสเลือด สิ่งคัดหลั่ง อุจจาระ ปัสสาวะ
ใช้สิ่งของร่วมกัน เช่น มีดโกน เข็มฉีดยา
ทารกได้รับเชื้อจากการผ่านทางรก
ทารกได้รับเชื้อขณะคลอด
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร อาเจียน
ปวดท้อง/ปวดบริเวณชายโครงขวา
คลำพบตับโต กดเจ็บ ปัสสาวะสีเข้มเป็นสีชาแก่
ผลของโรคต่อมารดาและทารกในครรภ์
มารดา
อาการรุนแรง เกิด preterm labor
ทารก
LBW
ตายปริกำเนิด
ทารกมีโอกาสติดเชื้อจากมารดาสูง กรณี HBeAg +
พัฒนาเป็นโรคตับแข็งและมะเร็งตับได
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองหญิงมีครรภ์ พบ HBsAg และ HBeAg เป็นบวก แสดงว่าติดเชื้อ
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ทานอาหารไขมันต่า ย่อยง่าย ให้พลังงานสูง
เบื่ออาหารและอาเจียน ดูแลให้ยาแก้อาเจียน
ให้คำแนะนำเรื่อง สาเหตุ การติดต่อ การดำเนินของโรค การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ให้มาฝากครรภ์สม่ำเสมอ
แนะนำการสังเกต FM & อาการผิดปกติต่างๆ ที่ต้องมา รพ.
ระยะคลอด
นอนพักบนเตียง ติดตามความก้าวหน้าการคลอด, ฟัง FHS, สังเกตอาการผิดปกติ
หลีกเลี่ยงการ PV & ARM
เมื่อศีรษะคลอด รีบดูดมูกและเลือดออกจากปาก จมูก ทารกให้มากที่สุด
ดูแลให้ทารกได้รับ Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) 0.5 มล. ภายใน 12 hr. และ HBV 3 ครั้ง พร้อม HBIG 1 เดือน 6 เดือน
ดูแลโดยยึดหลัก universal precaution
ระยะหลังคลอด
ให้ BF ได้ ถ้าหัวนมแตกหรือมีการอักเสบ ให้งด BF ก่อน ทารกได้รับ
รักษาความสะอาดของร่างกาย
ป้องกันการปนเปื้อนของเลือดหรือน้ำคาวปลา
ล้างมือให้สะอาดก่อนการดูแลทารก
ดูแลร่างกายให้แข็งแรงเพื่อป้องกันการติดเชื้อซ้ำซ้อน
นำบุตรมาตรวจ + รับวัคซีนป้องกันเชื้อไวรัสตับอักเสบบี ตามนัด
Hepatitis A virus (HAV)
Hepatitis B virus (HBV)
Hepatitis C virus (HCV)
Hepatitis D virus (HDV)
สตรีตั้งครรภ์พบบ่อย คือ HBV และ HCV
โรคติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะกับการตั้งครรภ์
(urinary tract infection in pregnancy)
ภาวะท่ีมีการติดเชื้อ bacteria ในระบบ
ทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
เกิดจากเชื้อ Escherichia coli รอบท่อปัสสาวะ
H.estrogenสูง ความตึงตัวของท่อไตและกระเพาะปัสสาวะลดลง
การคั่งค้างของน้ำปัสสาวะ + มี glucose, protein, amino acid
รูเปิดท่อไตบิดงอ
มีเลือดมาเลี้ยงมากทำให้เซลล์บวมเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
มดลูกโตเบียดกระเพาะปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะแสบขัด กระปริดกระปรอย กลั้นปัสสาวะไม่ได้
ปัสสาวะเป็นเลือดหรือน้ำล้างเนื้อ
ไข้ หนาวสั่น คลื่นไส้อาเจียน
ปวดบริเวณหัวเหน่า กรวยไตอักเสบ
ปัสสาวะเป็นสีขุ่นหรือน้ำล้างเนื้อ
ปวดหลังบริเวณตำแหน่งไต
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำการดำเนินของโรค
แนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
นอนตะแคงเพื่อไม่ให้มดลูกกดทับท่อไต
ดื่มน้าวันละ 2,000 – 3,000 ml. & ไม่กลั้นปัสสาวะ
รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ
มาตรวจตามนัดและสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ ปัสสาวะแสบขัด มีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน
เน้นมาฝากครรภ์ตามนัด
ระยะคลอด
การทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ทุกครั้งหลังการขับถ่าย
การสังเกตอาการผิดปกติที่แสดงถึงการติดเชื้อ
เตรียมอุปกรณ์ในการช่วยเหลือทารกแรกเกิดให้พร้อม
ระยะหลังคลอด
เน้นการป้องกันการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ให้คำแนะนาการป้องกันการติดเชื้อ
ถ้ามีบุตรเพียงพอแล้ว /เป็นโรคไตเรื้อรังควรทำหมัน
โรคติดเชื้อไวรัสซิกก้ากับการตั้งครรภ์
(Zika Virus Diseases)
เกิดจากการติดเชื้อไวรัสซิกา(ZikaVirus)
ยุงลายเป็นพาหะ (Aedes)
มีระยะฟักตัว 3-12 วัน
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆ
ปวดศีรษะ
ผื่นแดง (maculopapula) บริเวณลำตัว แขนขา
ปวดข้อ อ่อนเพลีย
เยื่อบุตาอักเสบ (ไม่มีขี้ตา)
อาจมีต่อมน้ำเหลืองโตและอุจจาระร่วง
ผลของการติดเชื้อไวรัสซิกาต่อการตั้งครรภ์
Microcephaly
รอบศีรษะทารกต่ำกว่า 3 Percentile ของค่าปกติในเพศและกลุ่มอายุของทารกนั้น
Central nervous system abnormallities
Maternal Guillain-Barre Syndrome (GBS)
Fetal growth restriction
การดูแลก่อนและขณะตั้งครรภ์
ก่อนการตั้งครรภ์
กรณีเดินทางไปที่มีการระบาด ฝ่ายหญิงคุมกำเนิดอย่างน้อย 2 เดือน
ขณะตั้งครรภ์
รักษาเหมือนคนทั่วไป ให้ยาลดไข้
U/S ดูความผิดปกติหลังการติดเชื้อ 4 สัปดาห์และ U/S ติดตามทุก 4 สัปดาห์ เพื่อดู ความพิการและศีรษะเล็ก
หาก U/S พบความผิดปกติ ให้คำปรึกษาวินิจฉัย ยืนยันการติดเชื้อด้วยการเจาะน้ำคร่ำ
ประเมินภาวะสขุภาพของทารกในครรภ์และการเจริญเติบโตจากการทา NST, U/S
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนากับการตั้งครรภ์
(Corona-19 virus with Pregnancy)
เกิดจากเชื้อไวรัสตระกูล Corona ชื่อ SARS-CoV-2
ปัจจัยเสี่ยง
อายุมาก (elderly pregnancy)
อ้วน
มีโรคประจาตัว เช่น เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง
ครรภ์เป็นพิษ
การใช้ Favipiravir ในหญิงตั้งครรภ์
มีโอกาสเกิด teratogenic effect
หญิงวัยเจริญพันธุ์ควรตรวจการตั้งครรภก์ก่อนเริ่มยานี้
ห้ามใช้ฟ้าทะลายโจรในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตรเพราะอาจมีผลต่อ uterine contraction และทารกผิดปกติ
มารดาที่รับประทานยา favipiravir ควรงดให้นมบุตร เพราะยาถูกขับออกทางน้ำนม
การดูแลที่คลินิกฝากครรภ์
กรณีไม่มีอาการ/อาการน้อย ควรเลื่อนนัดเพื่อมาฝากครรภ์, U/S, คัดกรองเบาหวาน
กรณีผู้ป่วยครรภ์เสี่ยงสูง ต้องมาตรวจ ให้ใช้มาตรฐานของโรงพยาบาล
กรณีมีอาการปานกลาง/รุนแรง ให้รับไว้ในโรงพยาบาล
ให้การดูแลโดยทีมสหสาขา
ตรวจ X-ray ปอด หรือ X-ray คอมพิวเตอร์ช่องอก
ยุติการตั้งครรภ์ตามข้อบ่งชี้ทางด้านสูติกรรม
ให้ยากลุ่ม corticosteroids เพื่อกระตุ้นการเจริญของปอด
ติดตาม FHS ทารกในครรภ์เป็นระยะ
การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด
ประเมินความรุนแรงของโรคโควิด-19
แจ้งกุมารแพทย์ทารกแรกเกิด
ตรวจติดตามวัดไข้
ดูแลการเจ็บครรภ์คลอดตามมาตรฐาน
เฝ้าระวังอาการและอาการแสดงของภาวะ sepsis
บันทึกปริมาณสารน้าเข้าออก
วิธีคลอดเป็นไปตามมาตรฐาน
สามารถทา epidural block เพื่อระงับอาการเจ็บครรภ์
ทำ delayed cord clamping ได้
การดูแลทารกแรกเกิดเหมือนภาวะปกติ
การดูแลทารกหลังคลอด
แยกทารกเข้าห้องความดันลบอย่างน้อย 14 วัน
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อทุกรายถือว่าเป็น PUI เสมอ และตรวจการติดเชื้อทารกทุกราย
ตรวจติดตามอาการและอาการแสดงของทารกเป็นระยะ
การติดเชื้อวัณโรคในขณะตั้งครรภ์
(Tuberculosis in pregnancy)
เกิดจากเชื้อ mycobacterium tuberculosis
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆ
ไอเรื้อรัง หรือไอเป็นเลือด
หายใจลำบาก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
น้ำหนักลด ร่างกายซูบผอม
ผลของวัณโรคต่อการตั้งครรภ์
IUGR, prematurity, fetal death & still birth
congenital TB.
เชื้อสามารถผ่านรกและสิ่งคัด หลั่งไปสู่ทารกได้
ทารกได้รับผลกระทบจากยาที่ รักษาวัณโรค
streptomycin มีพิษต่อหู
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
การใช้ยาอย่างต่อเนื่องตามการ แผนรักษา
การรับประทานอาหารที่โปรตีนสูง
สังเกตอาการผิดปกติ
ฝากครรภ์ตามนัด
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ
ระยะคลอด และหลังคลอด
ยึดหลัก standard precaution
ให้นอนในท่าศีรษะสูงขณะคลอด
เตรียมออกซิเจนและอุปกรณ์การช่วยเหลือให้พร้อม
ดูแลการแยกทารกและงด BF ในรายที่มารดาเป็น active TB
ดูแลการให้ breastfeeding ในรายที่มารดาได้รับยาและควบคุมโรคมานานอย่างน้อย 3 สัปดาห์