Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทท่ี 3 แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ - Coggle Diagram
บทท่ี 3 แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี1 (พ.ศ.2504-2509)
ปัญหาสุขภาพ
1.ป่วยและตายด้วยโรคติดต่อ จากความ
ยากจนและความไม่รู้ เช่น อหิวาตกโรค ไข้ทรพิษ
2.เด็กป่วยและตายด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วย
วัคซีน ไอกรน โปลิโอ
3.ป่วยด้วยโรคจากปัญหาสุขาภิบาล
สิ่งแวดล้อม
4.อัตราตายของมาดาและทารกสูง
5.ประชาชนในชนบทได้รับการดูแลสุขภาพ
นโยบายสำคัญ
ปรับปรุงสถานบริการและเพิ่ม
บุคลากรเพื่อ ให้การบำบัดรักษาที่
ครอบคลุมทั่วถึงยิ่งขึ้น
เน้นการขยายสถานบริการสาธารณาสุข ได้แก่ โรงพยาบาลและสถานีอนามัย
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 2 (พ.ศ.2510-2514)
รัฐมีนโยบายจะเร่งส่งเสริมและขยายขอบเขตการปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุขให้ครอบคลุมทั่วประเทศ
ปัญหาสุขภาพ
มีลักษณะคล้ายกับแผนฯ 1 คือ ป่วย
และตายด้วยโรคติดต่อ จากความยากจน
และความไม่รู้ เช่น โรคไข้ทรพิษ กาฬ โรค โรคอุดทะราด และไข้มาลาเรีย
นโยบายสำคัญ
เร่งผลิตบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ขยายการบริการสู่ประชาชนในชนบท
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 3 (พ.ศ.2515-2519)
แตกต่างจากสองแผนแรกอย่างชัด คือ มีการกล่าวถึงการพัฒนาบริการสาธารณสุขแบบผสมผสาน ให้ความสำคัญต่อความร่วมมือของประชาชน
ปัญหาสุขภาพ
2.โรคติดต่อต่างๆและโรคจากพฤติกรรมไม่ถูกต้อง
3.อัตราตายมารดาและทารกยังคงสูงอยู่
1.ประชากรเพิ่มอย่างรวดเร็ว
นโยบายสำคัญ
มุ่งเน้นอนามัยแม่และเด็ก การวางแผนครอบครัว อนามัยสิ่งแวดล้อม การรักษาพยาบาลแก่ผู้ที่มีรายได้น้อย
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 7 (พ.ศ.2535-2539)
มีการจัดตั้งศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชน(ศสมช.)ในตำบลที่ อสม.มีความพร้อมเพเพิ่มศักยภาพของ อสม.
ปัญหาสุขภาพ
1 . ปัญหาโรคและการบาดเจ็บจากการ
ทำงานเพิ่มมากขึ้น
2.โรคเอดส์แพร่กระจายมากขึ้นและเกิด
กับประชาชนทุกกลุ่ม
3.โรคไม่ติดต่อที่เกิดจากพฤติกรรม
สุขภาพไม่ถูกต้องมีแนวโน้มสูงขึ้น (อุบัติเหตุ)
4.โรคเรื้อรัง โรคจิตประสาท
ความเครียด มีอัตราสูงขึ้น เบาหวาน ความดัน
นโยบายสำคัญ
-เน้นการพัฒนาสถานีอนามัยให้เป็นจุดเริ่ม
ของงานสุขภาพดีถ้วนหน้า
-เน้นความพยายามในการสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับคนไทยทุกคน
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 5 (พ.ศ.2525-2529)
ให้ความสำคัญด้านการกระจายบริการสาธารณสุขออกไปสู่ท้องถิ่นชนบท
อาศัยแนวคิดการพัฒนาสาธารณสุขที่มีจุดเด่น 5 ประการ
2 . การใช้สาธารณสุขมูลฐานเป็นมาตรการหลักในการพัฒนาสาธารณสุข
การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุข
1 . ยึดจุดมุ่งหมายเพื่อให้บรรลุ "สุขภาพดีถ้วนหน้าในปี 2543'
4.การมุ่งดำเนินงานแบบผสมผสานระหว่างสาขามากขึ้น
5 . การให้ความสำคัญแก่พื้นที่เป้าหมายและประชากรกลุ่มอายุที่มีปัญหาสาธารณสุข หรือมีอัตราการเสี่ยงต่อโรคสูงกว่ากลุ่มอื่น
ปัญหาสุขภาพ
4.ขาดการศึกษาวิจัย
3.โรคจากสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชน
แออัดเขตเมืองมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
1.อัตราป่วยและตายด้วยโรคติดต่อและ
โรคระบาดลดลง
2.โรคที่สอดคล้องกับการขยายตัวของ
การคมนาคมและการย้ายถิ่นเพิ่มขึ้น เช่น
มาลาเรีย
นโยบายสำคัญ
เน้นความเป็นธรรมของการบริการ
สาธารณสุข ยกฐานะสำนักงาน
ผดุงครรภ์ให้เป็นสถานีอนามัย และใช้
เป้าหมาย "สุขภาพดีถ้วนหน้า 2543"
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 6 (พ.ศ.2530-2534)
การยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชน เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพ
2.โรคที่พัฒนาแล้วในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเริ่มมีมากขึ้น เช่น หลอดเลือดหัวใจ อุบัติเหตุ
3.โรคจากการประกอบอาชีพมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในสถานประกอบการ
1.โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
4.มีการระบาดของโรคเอดส์เนื่องจากความเบี่ยงเบนในพฤติกรรมทางเพศ
นโยบายสำคัญ
ขยายสถานบริการสาธารณสุขให้ตรง
ตามกลุ่มเป้าหมาย ยึดหลักการมีส่วน
ร่วมของประชาชนในการพัฒนาการ สาธารณสุข การรณรงค์ควบคุมโรค
เอดส์ เริ่มแนวคิดเรื่องหลักประกันสุขภาพ
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 4 (พ.ศ.2520-2524)
เริ่มตั้งเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนน้าในปี 2543 โดยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐานในพ.ศ.2522 โรคติดต่อบางอย่างลดลง
ปัญหาสุขภาพ
1.ประชาชนยังมีสุขภาพไม่ดีเนื่องจากอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ถูกสุขลักษณะ
2.มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรค
นโยบายสำคัญ
เริ่มมีโรงพยาบาลประจำอำเภอ
มีโครงการสร้างภูมิคุ้มกันโรคใน พ.ศ.2521 มีการอบรม ผสม.และ อสม.เป็นครั้งแรก ใน พ.ศ.2520
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 8 (พ.ศ.2540-2544)
เน้น “คน”เป็นจุดศูนย์กลางของการพัฒนา
ปัญหาสุขภาพ
3.สถานบริการไม่เพียงพอต่อการรับ
ผู้ป่วยใน
4.โรคเอดส์ สารเสพติด
1.ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มมากขึ้น เช่น การบริโภค การออก
กำลังกาย การขับขี่ยานพาหนะ
2.ผู้สูงอายุมีจำนวนมากขึ้น ทำให้มีแนวโน้มของโรค ที่เกิดจากความเสื่อมและโรคเรื้อรังต่างๆเพิ่มขึ้น
นโยบายสำคัญ
-เน้นความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพ
-เน้นการพัฒนาสุขภาพในการประกอบอาชีพ
-เน้นการพัฒนาศักยภาพของคนในด้านสุขภาพ
นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาร่วมแก้ปัญหาสาธารณสุข
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564)
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว
วิสัยทัศน์
ระบบสุขภพไทยเข้มแข็งเป็นเอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดีสร้างประเทศให้มั่นคง มั่งคั่งและยั่งยืน
พันธกิจ
เสริมสร้าง สนับสนุนและประสานให้เกิดการมีส่วน มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ทั้งภาครัฐ เอกชน นักวิชาการและภาคประชาสังคม ในการอภิบาลและพัฒนาระบบสุขภาพไทย
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ 4 ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ที่ 1 เร่งการเสริมสร้างสุขภาพคนไทยเชิงรุก
เพื่อสร้งความเข้มแข็งของ บุคคล ชุมชน ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2.เพื่อสร้างระบบสุขภาพเชิงรุก ที่มุ่งสร้างเสริมให้คนไทยทุกช่วง วัยมี สุขภาพดี มีระบบการป้องกันควบคุมโรคและ
ปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
เพื่อพัฒนระบบการดูแล ผู้สูงอายุระยะยาวที่เกิดจากความ ร่วมมือของครอบครัว ชุมชน และ สถานพยาบาล
ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ
2 . เพื่อบูรณาการระบบการผลิตกำลังคนด้านสุขภาพของประเทศให้ ตั้งอยู่บนฐานของความร่วมมือ ระหว่างผู้ผลิตและผู้ใช้กำลังคนด้านสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชน
เพื่อสร้างเครือข่ายกำลังคนด้านสุขภาพที่ประกอบด้วยภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคประชาชน
1 . เพื่อวางแผนกำลังคนด้านสุขภาพที่สอดรับกับการออกแบบระบบสุขภาพและความจำเป็นด้าน สุขภาพ
เพื่อสร้างกลไกและระบบการบริหารจัดกรกำลังคนด้านสุขภาพรวมทั้งระบบการติดตามและ ประเมินผล
ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาและสร้างความเข้มแข็งในการอภิบาลระบบสุขภาพ
1 . เพื่ออภิบาลระบบสุขภาพอย่างมีธรรมาภิบาล เป็นเอกภาพ
2 . เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการบริการสุขภาพ ระบบข้อมูลข่าวสาร ด้านสุขภาพ การเงินการคลังด้านสุขภาพ รวมถึงยาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในระบบบริการสุขภาพ
เพื่อสร้างความเข้มแข็งและสามารถในการแข่งข้นให้กับระบบสุขภาพของประเทศ
เพื่อลดความเหลื่อมล้ำในการได้รับบริการด้านการแพทย์และ สาธารณสุข
เพื่อสร้างและพัฒนาระบบ บริการปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ ครอบครัวประจำให้ครบทุกแห่ง
เพื่อยกระดับขีดความสามารถของหน่วยบริการทุกระดับให้มีคุณภาพตามมาตรฐาน
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 10 (พ.ศ.2550-2554)
วิสัยทัศน์
มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เพื่อสร้างสุขภาพดีบริการดี สังคมดี มีความสุขอย่างพอเพียง
พันธกิจ
สร้างเอกภาพทางความคิดสร้างจิตรสำนึกสุขภาพใหม่ สร้างระบบจัดการที่โปร่งใส
ปัญหาสุขภาพ
3.ปัญหาด้านการเงิน การคลังด้านสุขภาพ
4.ขาดแคลนกำลังคนด้านสาธารณสุข
2.มีความทุกข์ในระบบบริการทางการแพทย์
1 .ยังคงมีปัญหาเหมือนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9
5.เทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารการแพทย์ยังไม่ทันสมัย
นโยบายสำคัญ
ปรัชญานำทาง "เศรษฐกิจพอเพียง" ยึดทางสายกลาง มีความสมดุลพอดี
-วิสัยทัศน์ระบบสุขภาพไทย "มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพียง"
-สร้างสุขภาพดีตั้งแต่ครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 9 (พ.ศ.2545-2549)
วิสัยทัศน์
คนในสังไทยทุกคนมีหลักประกันที่จะดำรงชีวิตอย่างมีสุขภาวะ และเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ
ปัญหาสุขภาพ
1.ปัญหาการเจ็บป่วยจากโรค
ติดเชื้อ
2.ปัญหาการเจ็บป่วยจากโรคที่
มีสาเหตุทางพฤติกรรม
3.ปัญหาสุขภาพจิต สารเสพ
ติด อาหารเสริมผลิตภัณฑ์ความ งามที่ขาดคุณภาพ
5.การกระจายบุคลากรด้าน
สุขภาพไม่เท่าเทียม
4.ปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม
นโยบายสำคัญ
สร้างสุขภาพเชิงรุก ให้ประชาชนมีส่วนร่วมคิดร่วมทำ
พ.ศ.2545 ได้มีการประกาศใช้นโยบาย 30 บาทรักษา ทุกโรค เพื่อขยายบริการสุขภาพให้ครอบคลุม
ประกาศให้เป็นปีเริ่มต้นแห่งการรวมพลังสร้างสุขภาพ โดยการรณรงค์ 5 อ
พ.ศ.2547 มีการประกาศนโยบายและเป้าหมาย เมืองไทยแข็งแรง (He althy Thailand)
แผนพัฒนาสาธารณสุขแห่งชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ.2555-2559)
มุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการอภิบาลระบบสุขภาพ
วิสัยทัศน์
ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดีร่วมสร้างระบบ สุขภาพพอเพียงเป็นธรรมนำสู่สังคมสุขภาวะ
พันธกิจ
พัฒนาระบบสุขภาพพอเพียงโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยคุกคาม และสร้างเสริมการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วน รวมถึงการใช้ภูมิปัญญา
ยุทธศาสตร์การพัฒนามี 5 ยุทธศาสตร์
เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีสุขภาพ ตลอดจนการพึ่งพาตนเองด้านสุขภาพ
ประสานพัฒนาระบบเฝ้าระวังเตือนภัยและการจัดการภัย ภัยพิบัติอุบัติเหตุและภัยสุขภาพ
3.มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคควบคุมโรค
เสริมสร้างระบบบริการสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดับ
สร้งกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ
ปัญหาสุขภาพ
ความมั่นคงทางอาหารและ
พลังงานเปลี่ยนแปลงไป
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การก่อการร้าย
การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลก
โครงสร้างประชากรที่มีวัยสูงอายุมากขึ้น วัยเด็ก และวัยแรงงานลดลง
นโยบายสำคัญ
สร้างหลักประกันและจัดบริการที่ครอบคลุมเป็นธรรม สร้างภูมิคุ้มกันต่อภัยคุกคาม
มีความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ มีระบบ
บริหารจัดการการเงินการคลังด้านสุขภาพ
มุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้
ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี