Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขอบเขตของการพยาบาล จิตเวช และสุขภาพจิต - Coggle Diagram
ขอบเขตของการพยาบาล
จิตเวช และสุขภาพจิต
บทบาทของพยาบาลจิตเวช และสุขภาพจิต
หลักการของการพยาบาลจิตเวช
พฤติกรรมของผู้ป่วยจะเปลี่ยนได้เมื่อผู้ป่วยมีประสบการณ์ทางอารมณ์
หลีกเลี่ยงการเพิ่มความวิตกกังวลให้กับผู้ป่วย
การสังเกตผู้ป่วยด้วยการใช้คำถามกับตัวเองว่า ทำไม ผู้ป่วยจึงมีพฤติกรรมเช่นนั้น
การให้กำลังใจควรทำอย่างไรเหมาะสมในท่าทีที่ยอมรับผู้ป่วย
สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วย
ความสม่ำเสมอจะช่วยให้เกิดความมั่นคงทางจิตใจ
การพยาบาลต้องคำนึกถึงความเป็นบุคคลและปัญหาของผู้ป่วย
ความเข้าใจตนเองเป็นเครื่องมือในการรักษา
กิจกรรมต่างๆควรอธิบายตามระดับความเข้าใจของผู้ป่วย
ผู้ป่วยต้องการการยอมรับในสภาพที่เขาเป็นอยู่
หลีกเลี่ยงการใช้คำพูดหรือกำลังบังคับผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น
บทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบ
บทบาทหน้าที่ระดับพื้นฐานหรือระดับรอง
เป็นตัวแทนสังคม
เป็นผู้ให้คำปรึกษาแนะนำ
เป็นเสมือนตัวแทนของแม่
เป็นเสมือนครุ
เป็นผู้จัดสรรสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา
ทางการรักษาพยาบาลที่ใช้เทคนิคเฉพาะทางการพยาบาล
ทีมบุคลากรด้านสุขภาพจิตและจิตเวช
จิตแพทย์
พยาบาลจิตเวช
นักอาชีวะบำบัด
นักกิจกรรมบำบัด
นักจิตวิทยาคลินิก
นักดนตรีบำบัด
นักสังคมสงเคราะห์ทางจิตเวช
ลักษณะและขอบเขตงานทั้ง 4 มิติ ของพยาบาลจิตเวชและระบบการดูแลอย่างต่อเนื่อง
มิติที่1 การส่งเสริมสุขภาพจิต เป็นการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตขั้นต้น
มิติที่2 การป้องกันปัญหาสุขภาพจิตหรือรักษาภาวะทางสุขภาพจิตให้ดี ให้ความรู้ ช่วย้หลือ แนะนำเรื่องการปับตัว
มิติที่3 การบำบัดรักษา ช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตหรือผู้ที่เจ็บป่วยทางจิตให้ได้รับการักษา
มิติที่4 การฟื้นฟูสมรรถภาพ โดยจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการรักษา การบำบัดทางความคิด การจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
หลักจริยธรรม วิทธิมนุษยชน และพ.ร.บ.สุขภาพจิต 2565
สิทธิของผู้ป่วยจิตเวช
สิทธิในการลงความสมัครใจรับการบำบัด
สิทธิในการดำรงชีวิตอย่างอิสระ
สิทธิในการละเว้นโทษเมื่อกระทำความผิดทางอาญา
สิทธิในการทำนิติกรรม
สิทธิในการทำนิติกรรม
คนวิกลจริตที่สมองพิการหรือจิตบกพร่องโดยมีอาการหนักขนาดขาดสติ
คนวิกลจริตที่ศาลมีค าสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
ผู้ที่มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบหรือติดสุรายาเมาที่ศาลมีคำสั่งให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ
สิทธิในการลงความสมัครใจเข้ารับการบำบัด
สำหรับผู้ป่วยจิตเวชที่ขาดความสามารถในการรู้คิด ตัดสินใจ และขาดความสามารถในการให้ความยินยอมในการรักษา อาจจากขาดความสามารถในการรู้คิดตัดสินใจหรือไม่ยอมรับการเจ็บป่วยทางจิตของตน
สิทธิในการละเว้นโทษเมื่อกระทำความผิดทางอาญา
ตามกฎหมายอาญาถือว่า ผู้กระทำความผิดที่ไม่สามารถรู้ผิดรู้ชอบเพราะมีจิตบกพร่อง โรคจิตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่ต้องรับโทษสำหรับความผิดนั้น