Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยาออกฤทธิ์ระบบทางเดินหายใจ, กลุ่มยา : ยาละลายเสมหะ, รูปแบบของยา :…
ยาออกฤทธิ์ระบบทางเดินหายใจ
ยาขยายหลอดลมเป็นยาที่มีคุณสมบัติคลายกล้ามเนื้อภายในปอด ช่วยให้ทางเดินหายใจขยายออกและหายใจสะดวกขึ้นมักนำมาใช้รักษาโรคหรือภาวะเรื้อรังที่ส่งผลให้ทางเดินหายใจแคบลงและอักเสบ เช่น โรคหืด และโรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง
• Formoterol (ฟอร์โมเทอรอล )
กลุ่มยา : เบต้าทูอะโกนิส (Beta-2 Agonists)
ประเภทยา : ตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาโรคภาวะหลอดลมหดเกร็งตัว
: ป้องกันการอุดตันของระบบทางเดินหายใจจากการหด เกร็งตัวของหลอดลม
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยาแคปซูล ยาพ่นชนิดสารละลาย ยาเม็ด
กลไกการออกฤทธิ์ : ตัวยาจะออกฤทธิ์ที่กล้ามเนื้อเรียบโดยเข้าจับกับตัวรับ(Receptor)ที่มีชื่อว่า Beta 2-receptors ในผนังของหลอดลม ท าให้เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบ จึงส่งผลให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวกขึ้น
ปริมาณการใช้ยา : • ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 80 ไมโครกรัมวันละ 2 ครั้งเช้า - เย็น• เด็กที่อายุมากกว่า 6 เดือนขึ้นไปรับประทาน 4 ไมโครกรัม/น้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม/• เด็กที่อายุมากกว่า 6 เดือนขึ้นไปรับประทาน 4 ไมโครกรัม/น้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม/• เด็กที่อายุมากกว่า 6 เดือนขึ้นไปรับประทาน 4 ไมโครกรัม/น้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม/
อาการข้างเคียง : มีอาการตัวสั่น ปวดหัว ชีพจรเต้นผิดปกติหัวใจเต้นเร็ว กล้ามเนื้อเป็นตะคริว
Aminophylline (อะมิโนฟิลลีน)
กลุ่มยา : ยารักษาโรคหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และภาวะหลอดลมหดเกร็งยาทีโอฟิลลีน (Theophylline)
ประเภทยา : ตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาภาวะหลอดลมหดเกร็ง
กลุ่มผู้ป่วย : เด็ก ผู้ใหญ่ ผู้สูงอายุ
รูปแบบของยา : ยาฉีด ยารับประทาน
กลไกการออกฤทธิ์ : ช่วยคลายและขยายทางเดินอากาศภายในปอด ช่วยให้ผู้ป่วยหายใจได้สะดวกยิ่งขึ้น
• Salbutamol (ซาลบูทามอล)
กลุ่มยา : เบต้าทูอะโกนิส (Beta-2 Agonists)
ประเภทยา : ตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาโรคหืด โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และภาวะหลอดลมหดตัว
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยาสูดพ่น ยาสูดพ่นแบบฝอยละออง ยาเม็ด ยาน้ าเชื่อม ยาแคปซูล
กลไกการออกฤทธิ์ : ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อเรียบในระบบทางเดินหายใจ ท าให้อากาศผ่านเข้าออกปอดได้ง่ายขึ้น
ปริมาณการใช้ยา : ผู้ใหญ่และเด็กอายุตั้งแต่ 4 ปีขึ้นไป : ใช้เครื่องสูดพ่นยา สูดพ่นครั้งละ 2.5-5 มิลลิกรัมไม่เกิน 4 ครั้ง/วัน หรืออาจสูดพ่นอย่างต่อเนื่องในปริมาณ 1-2 มิลลิกรัม/ชั่วโมง
อาการข้างเคียง : ปวดศีรษะ คลื่นไส้ ไอ ไซนัสอักเสบ กระวนกระวาย เจ็บคอหรือคอแห้ง
ข้อควรระวัง : ห้ามใช้ยานี้หากแพ้ส่วนประกอบใด ๆ ในยา: หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะตกเลือดห้ามใช้ยาซาลบูทามอล
Salmeterol (แซลเมเทอรอล)
กลุ่มยา : เบต้าทูอะโกนิส (Beta-2 Agonists)
ประเภทยา : ตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาโรคหืดเรื้อรังและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ป้องกันโรคหืดจากการออกก าลังกาย
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่และเด็ก
รูปแบบของยา : ยาสูดพ่น
กลไกการออกฤทธิ์ : ออกฤทธิ์ขยายหลอดที่ตีบ โดยตัวยามีผลพาะเจาะจงต่อ beta 2 ออกฤทธิ์ขยายหลอดลมนาน 12 ชั่วโมง
ปริมาณการใช้ยา : ผู้ใหญ่และเด็กอายุ 4 ปีขึ้นไป ให้สูดพ่นยาปริมาณ 50 ไมโครกรัมด้วยเครื่องพ่นยาแบบMDI หรือ DPI อย่างน้อย 30 นาทีก่อนการออกกำลังกาย
อาการข้างเคียง : เสียงแหบ ปวดศีรษะ อาการคล้ายไข้หวัด หัวใจเต้นเร็ว ปวดกล้ามเนื้อหรือข้อต่อ
ข้อควรระวัง : ห้ามใช้ยานี้ในเด็กอายุต่ ากว่า 4 ปี: ห้ามใช้ยานี้เพื่อรักษาโรคหืดที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน แต่หากมีอาการฉับพลันหรือกำเริบควรใช้ยาบรรเทาอาการโรคหืดที่ออกฤทธิ์เร็วเท่านั้น
Terbutaline (เทอร์บิวทาลีน)
กลุ่มยา : เบต้าทูอะโกนิส (Beta-2 Agonists)
ข้อควรระวัง : ยา Terbutaline ส่งผลให้ระดับน้ าตาลในเลือดสูง ผู้ป่วยโรคเบาหวานหรือมีภาวะน้ าตาลในเลือดสูงจึงควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนเสมอและใช้ยาด้วยความระมัดระวัง
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ป้องกันและรักษาการหดตัวของหลอดลม
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยารับประทาน ยาฉีด ยาพ่น
ปริมาณการใช้ยา : ยารับประทาน เด็กอายุต่ ากว่า 12 ปี รับประทานเริ่มต้นครั้งละ 0.05 มิลลิกรัม/น้ าหนักตัว 1 กิโลกรัม วันละ 3 ครั้ง และสามารถเพิ่มปริมาณยาได้ภายหลังโดยปริมาณยาสูงสุดอยู่ที่ 5 มิลลิกรัม/วันยาฉีด รักษาภาวะหลอดลมหดเกร็งชนิดรุนแรงเด็กอายุ 2-15 ปี ฉีดยาเข้าสู่ร่างกายปริมาณ 0.01 มิลลิกรัม/น้าหนักตัว 1 กิโลกรัมแต่ไม่ควรเกิน 0.3 มิลลิกรัม/ครั้งผู้ใหญ่ฉีดยาเข้าทางกล้ามเนื้อ หลอดเลือดด า หรือใต้ผิวหนัง ครั้งละ 250-500ไมโครกรัม สูงสุดไม่เกิน 4 ครั้ง/วัน หรือให้ยาหยดเข้าทางหลอดเลือดด าความเข้มข้น3-5 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ด้วยอัตราเร็ว 0.5-1 มิลลิลิตร/นาที
อาการข้างเคียง : สั่น เซื่องซึม เวียนศีรษะ วิตกกังวล นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย คลื่นไส้ ปากแห้ง เหงื่อออก
• Tiotropium (ไทโอโทรเปียม)
กลุ่มยา : แอนตี้มัสคารินิก Antimuscarinic
ประเภทยา : ตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : บ าบัดอาการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและอาการโรคหืด
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยาพ่นสเปรย์แคปซูล
กลไกการออกฤทธิ์ : เมื่อตัวยาถูกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายจากทางหลอดลม/ปอด จะท าให้กล้ามเนื้อเรียบที่ผนังหลอดลมลดการหดตัวและส่งผลให้หลอดลมขยายตัว ทั้งช่วยลดการหลั่งสารเมือก/สารคัดหลั่งของผนังหลอดลมอีกด้วย
ปริมาณการใช้ยา : ส าหรับโรคหืด
: ผู้ใหญ่และเด็กอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป: พ่นยาชนิดสารละลายขนาด 2.5 ไมโครกรัมวันละครั้ง: เด็กอายุต่ ากว่า 12 ปีลงมา: ยังไม่มีข้อมูลทางคลินิกส าหรับการใช้ยานี้ การใช้ยานี้ในเด็กวัยนี้จึงอยู่ในดุลพินิจของแพทย์ผู้รักษาเป็นกรณีๆไป
อาการข้างเคียง : ไอ ไซนัสอักเสบ เจ็บหน้าอก ชีพจรเต้นผิดปกติ
ข้อควรระวัง : การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์ หรือหญิงที่อยู่ในภาวะให้นมบุตร จะต้องเป็นไปตามค าสั่งแพทย์เท่านั้น
• Ventolin Nebules(เวนโทลิน เน็บบิวส์)
กลุ่มยา : เบต้าทูอะโกนิส (Beta-2 Agonists)
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ป้องหรือรักษาอาการหอบหืดที่เป็นไม่มาก รักษาอาการอุดตันของทางเดินหายใจในโรคถุงลมโป่งพอง
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่และเด็ก
• Vilanterol(ไวแลนเทอรอล)
กลุ่มยา : เบต้าทูอะโกนิส (Beta-2 Agonists)
ประเภทยา : ตามร้านขายยาและตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : บ าบัดป้องกันอาการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่และเด็ก
รูปแบบของยา : ยาผงส าหรับสูดพ่น
กลไกการออกฤทธิ์ : ตัวยามีกลไกการออกฤทธิ์ต่อกล้ามเนื้อเรียบของผนังหลอดลม โดยท าให้เกิดการ
คลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบหลอดลม ส่งผลให้ช่องทางเดินอากาศในหลอดลมขยาย
และกว้างขึ้น อากาศในหลอดลมจึงไหลเวียนเข้าปอดได้สะดวก
ปริมาณการใช้ยา : ผู้ใหญ่และเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 12 ปีขึ้นไป: สูดพ่นยา Fluticasone furoate 100
ไมโครกรัม+ Vilanterol 25 ไมโครกรัม วันละ 1 ครั้ง หรือสูดพ่นยา Fluticasone
furoate 200 ไมโครกรัม+ Vilanterol 25 ไมโครกรัม วันละ 1 ครั้ง
โดยต้องใช้ยาตรงตามขนาดและเวลาในแต่ละวันและต้องใช้ยาต่อเนื่องตามค าสั่งแพทย์ ห้ามหยุดใช้ยานี้เอง
อาการข้างเคียง : ปวดศีรษะ หัวใจเต้นเร็ว เกิดผื่นคัน วิตกกังวล หลอดลมอักเสบ คออักเสบ ไซนัสอักเสบ
ข้อควรระวัง : ห้ามใช้ยานี้ขณะที่ผู้ป่วยมีอาการหอบหืด หรือขณะที่มีอาการแน่นหน้าอก/หายใจล าบาก
ยาแก้ไอ
กลุ่มยาระงับอาการไอ หรือ ยากดอาการไอ (Antitussives หรือ Cough Suppressants)
Codeine (โคเดอีน)
กลุ่มยา : ยาระงับอาการไอและบรรเทาอาการปวดเรื้อรังระดับปานกลางขึ้นไป
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ระงับอาการไอ และบรรเทาอาการปวดตั้งแต่ระยะเริ่มต้น รุนแรงหรือเรื้อรัง
กลุ่มผู้ป่วย : เด็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ
รูปแบบของยา : ยารับประทาน และสารละลาย
กลไกการออกฤทธิ์ : ลดอาการปวด โดยจับกับตัวรับโอปิออยด์ (Opioid Receptors)
ในระบบประสาทส่วนกลาง
ปริมาณการใช้ยา : เด็กอายุ 2-5 ปี ปริมาณ 3 มิลลิกรัม รับประทาน 3-4 ครั้งต่อวัน
: เด็กอายุ 6-12 ปี ปริมาณ 7.5-15 มิลลิกรัม รับประทาน 3-4 ครั้งต่อวัน
: ผู้ใหญ่ ปริมาณ 15-30 มิลลิกรัม รับประทาน 3-4 ครั้งต่อวัน
อาการข้างเคียง : มีผื่นขึ้นตามผิวหนังได้เล็กน้อย เหงื่อออกมาก คลื่นไส้ หรืออาเจียน
ข้อควรระวัง : ไม่ควรใช้ยานี้ในเด็กที่เพิ่งเข้ารับการผ่าตัดต่อมทอนซิลหรือต่อมอะดีนอยด์ (Adenoid) และ
ควรรีบติดต่อแพทย์ทันที หากพบเห็นบุตรหลานมีอาการหายใจผิดปกติ ริมฝีปากคล้ า หรือ
หลับลึกจนไม่สามารถปลุกให้ตื่นได
Morphine (มอร์ฟีน)
กลุ่มยา : ยาแก้ปวดชนิดเสพติด
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ระงับอาการปวดระดับรุนแรง
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่ และเด็ก
รูปแบบของยา : ยาเม็ดหรือแคปซูลที่ออกฤทธิ์นาน ยาเม็ดที่ออกฤทธิ์ทันที ยาน้ า และยาฉีด
กลไกการออกฤทธิ์ : มอร์ฟีนระงับอาการปวดที่ค่อนข้างรุนแรงและรุนแรงมาก โดยตัวยาจะส่งผลต่อสมอง
ท าให้ร่างกายมีปฏิกิริยาต่ออาการเจ็บปวดลดลง
ปริมาณการใช้ยา : แพทย์จะสั่งจ่ายมอร์ฟีนให้ผู้ป่วยแต่ละคนในปริมาณที่ต่างกัน โดยผู้ป่วยควรปฏิบัติตาม
ค าแนะน าในการใช้ยาของแพทย์อย่างเคร่งครัด เพื่อให้การรักษาได้ประสิทธิภาพสูงสุด
อาการข้างเคียง : ผลข้างเคียงที่รุนแรง รู้สึกอึดอัดหรือเจ็บหน้าอก
ผลข้างเคียงที่ไม่รุนแรง รู้สึกสงบและผ่อนคลายลง นอนหลับ หรือง่วง ปากแห้ง
ข้อควรระวัง : ควรปรึกษาแพทย์ทุกครั้งก่อนใช้ยา สมุนไพร หรืออาหารเสริมอื่นร่วมกับการใช้มอร์ฟีน
Dextromethorphan (เดกซ์โทรเมทอร์แฟน)
กลุ่มยา : ยาระงับการไอ (Antitussives)
ประเภทยา : ยาทั่วไปตามร้านขายยา ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : บรรเทาอาการไอแบบไม่มีเสมหะ
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่และเด็กอายุ 4 ปีขึ้นไป
รูปแบบของยา : ยาอม ยาน้ าเชื่อม ยาน้ าแขวนตะกอน
กลไกการออกฤทธิ์ : ออกฤทธิ์ที่ระบบประสาทส่วนกลาง ช่วยลดการไอ
ปริมาณการใช้ยา : ยาอม
: เด็กอายุ 4 - 6 ปี 5 มิลลิกรัม รับประทานทุก ๆ 4 ชั่วโมง
: เด็กอายุ 6 - 12 ปี 5-15 มิลลิกรัม รับประทานทุก ๆ 2-6 ชั่วโมง
: ผู้ใหญ่และเด็กอายุ 12 ปีขึ้นไป 5-15 มิลลิกรัม รับประทานทุก ๆ 2-4 ชั่วโมง
อาการข้างเคียง : ปวดท้อง หรือท้องผูกปวดหัว สับสน มึนงง หรือง่วงซึมเล็กน้อย คลื่นไส้ หรืออาเจียน
ข้อควรระวัง : ยานี้อาจเป็นอันตรายต่อบุตรและอาจซึมผ่านน้ านมได้ จึงควรแจ้งให้แพทย์ทราบกรณีมีการ
• Levodropropizine
กลุ่มยา : ยาระงับการไอ (Antitussives)
ประเภทยา : ยาทั่วไปตามร้านขายยา
สรรพคุณ : บรรเทาอาการไอ
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่และเด็ก
รูปแบบของยา : ยาน้ าเชื่อม
กลไกการออกฤทธิ์ : ออกฤทธิ์ที่บริเวณระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral) ซึ่งยาสามารถยับยั้งการ
ปริมาณการใช้ยา : ผู้ใหญ่และเด็กอายุมากกว่า 12 ปี: รับประทานยาครั้งละ 10 mL (2 ช้อนชา หรือ
เทียบเท่ากับยา Levodropropizine 60 mg) วันละ 3 ครั้ง ระยะเวลาห่างกัน
อย่างน้อย 6 ชม. ไม่ควรใช้ยาติดต่อกันนานเกิน 7 วัน**
เด็กอายุมากกว่า 2 ปี: ขนาดยา Levodropropizine 3 mg/kg/day* แบ่งให้วันละ
3 ครั้ง ระยะเวลาห่างกันอย่างน้อย 6 ชม. ไม่ควรใช้ยาติดต่อกันนานเกิน 7 วัน**
อาการข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน แสบร้อนที่หน้าอก ไม่สบายท้อง ท้องเสีย อ่อนเพลีย ง่วงนอน
ข้อควรระวัง : ไม่ควรใช้ยาติดต่อกันนานเกิน 7 วัน
: สตรีมีครรภ์หรือสตรีให้นมบุตรไม่ควรใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มน
กลุ่มยาขับเสมหะ หรือ ยาละลายเสมหะ (Expectorants)
• Acetylcysteine (อะเซทิลซิสเทอีน)
กลุ่มยา : ยาละลายเสมหะ
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ละลายเสมหะ สลายมูกเหนียวข้นให้เบาบางลง
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยาฉีดเข้าเส้นเลือด ยารับประทาน
• Ambroxol (แอมบรอกซอล)
กลุ่มยา : ยาละลายเสมหะ
ประเภทยา : ยาหาซื้อได้เอง และตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ช่วยละลายเสมหะในระบบทางเดินหายใจ บรรเทาอาการไอจากโรคหวัด ไอมีเสมหะ
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยารับประทาน
กลไกการออกฤทธิ์ : Ambroxol เพิ่มฤทธิ์ให้เอนไซม์ท าให้เสมหะแตกตัวได้ ขับเสมหะได้ง่ายขึ้น
Bromhexine (บรอมเฮกซีน)
กลุ่มยา : ยาละลายเสมหะ
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์ ยาหาซื้อได้เอง
สรรพคุณ : ช่วยละลายเสมหะในระบบทางเดินหายใจ บรรเทาอาการไอจากโรคหวัด ไอมีเสมหะ
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยารับประทาน
กลไกการออกฤทธิ์ : บรอมเฮกซีนออกฤทธิ์กับเสมหะที่ขั้นการสร้างเสมหะที่เกิดขึ้นในเซลล์ที่เกิดการหลั่ง
เมือก โดยบรอมเฮกซีนเข้าท าลายโครงสร้างของกรดมิวโคโพลิแซกคาไรด์
(mucopolysaccharide) ท าให้เสมหะมีความเหนียวลดลง การขับเสมหะออก
ท าได้ง่ายขึ้น บรอมเฮกซีนมีความเป็นพิษต่ า
Carbocysteine (คาร์โบซิสเทอีน)
• Guaifenesin (ไกวเฟนิซิน)
กลุ่มยา : ยาขับเสมหะ
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : รักษาอาการไอ
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยารับประทานชนิดเม็ด ยาน้ า
กลไกการออกฤทธิ์ : ไกวเฟเนซินออกฤทธิ์แบบ systemic โดยเชื่อว่าฤทธิ์ในการขับเสมหะเกิดจาก
ความสามารถในการเพิ่มปริมาตรของเมือกโดยเพิ่มปริมาณของเหลว
• Potassium Iodide (โพแทสเซียมไอโอไดด์)
กลุ่มยา : ยาต้านไทรอยด์ ยาขับเสมหะ
ประเภทยา : ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ป้องกันสารกัมมันตรังสีไอโอดีน ขับเสมหะในระบบทางเดินหายใจ ลดขนาดต่อมไทรอยด์
กลุ่มผู้ป่วย : ผู้ใหญ่และเด็ก
รูปแบบของยา : ยาเม็ดและยาน้ า
กลไกการออกฤทธิ์ : ยาจะออกฤทธิ์ยับยั้งการดูดซึมสารกัมมันตรังสีรังสีไอโอดีนของต่อมไทรอยด์เพื่อ
ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับต่อมไทรอยด์ระหว่างการรักษา
กลุ่มยา : ยาละลายเสมหะ
กลุ่มผู้ป่วย : เด็กและผู้ใหญ่
รูปแบบของยา : ยาพ่นชนิดฝอยละออง
กลไกการออกฤทธิ์ : ตัวยาจะไปกระตุ้นตัวรับในระดับเซลล์ของผนังหลอดลมที่เรียกว่า เบต้า-2 รีเซปเตอร์
(Beta-2 receptor) ท าให้กล้ามเนื้อหลอดลมคลายตัวได้
ปริมาณการใช้ยา : ผู้ใหญ่และเด็กอายุ 18 เดือนขึ้นไป ให้ใช้ในขนาด 2.5-5 มิลลิกรัม และอาจพ่นซ้ าได้ถึง
วันละ 4 ครั้ง โดยใช้อัตรา 1-2 มิลลิกรัม/ชั่วโมง
: เด็กอายุต่ ากว่า 18 เดือน ขนาดการใช้ยารูปแบบนี้จะขึ้นอยู่กับดุลพินิจของแพทย์
อาการข้างเคียง : คอหอยอักเสบ วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ปากแห้ง ใจสั่น
ข้อควรระวัง : ระวังการใช้ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง หรือมีภาวะหัวใจล้มเหลว เบาหวาน ต้อหิน
เนื่องจากอาจไปเพิ่มความดันโลหิตและเพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจได
ประเภทยา : ยาหาซื้อได้เอง ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ : ละลายเสมหะ บรรเทาอาการไอมีเสมหะเรื้อรัง
รูปแบบของยา : ยารับประทาน (ยาน้ าเชื่อม ยาน้ าแขวนตะกอน ยาเม็ด ยาเม็ดชนิดเคี้ยว หรือแคปซูล)
กลไกการออกฤทธิ์ : คาร์โบซิสเทอีน (Carbocysteine) มีกลไกการออกฤทธิ์คือ การไปท าให้การเกาะกัน
ของพันธะไดซัลไฟด์ของเสมหะลดลง เสมหะจึงมีความข้นเหนียวลดลง